ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุดเดือด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sw:Kiwango cha kuchemka
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''จุดเดือด'''ของธาตุหรือสสารเป็นอุณหภูมิซึ่ง[[ความดันไอ]]ของของเหลวเท่ากับความดันของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบของเหลวนั้น
{{issues|สั้นมาก=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
'''จุดเดือด''' หมายถึง จุดที่สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นก๊าซ ซึ่งเป็นจุดจุดเดียวกับ [[จุดควบแน่น]] จุดเดือดของน้ำบริสุทธิ์ คือ 100 [[องศาเซลเซียส]] หมายความว่า น้ำที่สถานะของเหลวจะกลายเป็นไอน้ำ (สถานะก๊าซของน้ำ) เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 100 องศาเซลเซียส
 
ของเหลวในสิ่งแวดล้อมที่เป็น[[สุญญากาศ]]มีจุดเดือดต่ำกว่าของเหลวที่[[ความดันบรรยากาศ]] ของเหลวในสิ่งแวดล้อมความดันสูงจะมีจุดเดือดสูงกว่าของเหลวที่ความดันบรรยากาศ จึงอาจกล่าวได้ว่า จุดเดือดของของเหลวมีได้หลากหลายขึ้นอยู่กับความดันของสิ่งแวดล้อม (ซึ่งมักแตกต่างกันไปตามความสูง) ในความดันเท่ากัน ของเหลวต่างชนิดกันย่อมเดือดที่อุณหภูมิต่างกัน
== จุดเดือดของสารต่าง ==
{{โครงส่วน}}
 
จุดเดือดปกติ (หรือเรียกว่า จุดเดือดบรรยากาศหรือจุดเดือดความดันบรรยากาศ) ของของเหลวเป็นกรณีพิเศษซึ่งความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล คือ 1 [[บรรยากาศ (หน่วยวัด)|บรรยากาศ]] ที่อุณหภูมินั้น ความดันไอของของเหลวจะมากพอที่จะเอาชนะความดันบรรยากาศและให้ฟองไอก่อตัวภายในความจุของเหลว จุดเดือดมาตรฐานปัจจุบัน (จนถึง ค.ศ. 1982) นิยามโดย [[IUPAC]] ว่าเป็นอุณหภูมิซึ่งเกิดการเดือดขึ้นภายใต้ความดัน 1 [[บาร์ (หน่วยวัด)|บาร์]]
[[หมวดหมู่:เคมี]]
 
[[หมวดหมู่:เคมีอุณหพลศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:อุณหภูมิ]]
{{โครงเคมี}}