ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การพิสูจน์ยืนยันได้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: lt:Vikipedija:Patikrinamumas
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{นโยบาย}}
{{กล่องนโยบาย}}
เกณฑ์พิจารณาว่าเนื้อหาใดจะอยู่ในวิกิพีเดียได้นั้นคือ '''ต้องสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ - ไม่ใช่ว่าต้องเป็นจริง''' คำว่า "พิสูจน์ยืนยันได้" ในที่นี้หมายถึง ผู้อ่านสามารถที่จะตรวจสอบว่า สาระข้อมูลเนื้อหาใด ๆ ที่เพิ่มเข้ามาในวิกิพีเดียนั้น ได้เคยเผยแพร่ในแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาก่อน ผู้แก้ไขควรแจ้งแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือสำหรับ'''การอ้างคำพูด'''และสาระใด ๆ ที่เป็นประเด็นขัดแย้ง หรืออาจเป็นประเด็นขัดแย้งได้ง่าย อย่าเพิ่มเนื้อหาเพียงเพราะผู้เขียนคิดทึกทักเอาเองว่ามันเป็นจริงอย่างเด็ดขาด
 
ในการแสดงว่าเนื้อหานั้นน่าเชื่อถือ ข้อมูลทั้งหมดในบทความควรจะมีเฉพาะสาระที่เคยต้องอ้างจากแหล่งข้อมูลตีพิมพ์มาแล้วในแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือซึ่งถูกใช้สำหรับตรวจสอบข้อเท็จจริงและความถูกต้องแม่นยำของข้อมูล ซึ่งเป็นการเหมาะสมแก่เนื้อหาที่จะนำเอาข้อมูลที่มีการอ้างอิงไว้แล้วมาเพิ่มในวิกิพีเดียกำลังกล่าวถึงนั้น แต่ในทางปฏิบัติ การอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลนี้คุณไม่จำเป็นจะต้องใช้กับเนื้อหาทั้งหมดอ้างข้อมูลทุกอย่าง เพียงแต่เฉพาะคำกล่าวของบุคคลและเนื้อหา'''ที่ถูกคัดค้านหรือมีแนวโน้มที่จะถูกคัดค้าน''' ผ่านการใช้มีการอ้างอิงในบรรทัด (inline citation) ซึ่งสนับสนุนข้อมูลที่กำลังกล่าวถึงโดยตรง สำหรับรูปแบบการเขียนอ้างอิง ดูที่ [[WP:CITE|การอ้างอิงแหล่งที่มา]]
 
นโยบายนี้มีผลใช้กับเนื้อหาทั้งหมดในเนมสเปซหลัก ซึ่งรวมไปถึงบทความ รายการ เนื้อหาเฉพาะส่วน และคำบรรยายใต้ภาพ โดยไม่มีข้อยกเว้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเขียน[[WP:BLP|ชีวประวัติของบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่]] ข้อมูลซึ่งต้องการการพิสูจน์ยืนยันแต่ไม่สามารถอาจหาแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุนได้จะถูกอาจนำออก และข้อมูลที่ไม่มีการอ้างอิงซึ่งก่อให้เกิดข้อพิพาทเกี่ยวกับบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่จะต้องถูกนำออกโดยทันที
 
การพิสูจน์ยืนยันได้เป็นหนึ่งในนโยบายแกนกลางด้านเนื้อหาของวิกิพีเดีย เช่นเดียวกับ[[WP:NOR|งดงานค้นคว้าต้นฉบับ]]และ[[WP:POV|มุมมองที่เป็นกลาง]] ซึ่งนโยบายเหล่านี้ร่วมกันกำหนดประเภทและคุณภาพของแหล่งข้อมูลที่สามารถใช้อ้างอิงเนื้อหาในบทความได้ และนโยบายเหล่านี้ไม่ควรถูกตีความโดยไม่พิจารณาทั้งหมดไปในขณะเดียวกัน และผู้แก้ไขควรจะทำให้คุ้นเคยกับหลักสำคัญของนโยบายทั้งสามนี้ นอกจากนี้บทความจะต้องเป็นไปตาม[[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|นโยบายด้านลิขสิทธิ์]]