ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอยเชลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
'''หอยเชลล์''' หรือ '''หอยพัด''' ({{lang-en|scallop}}) เป็นสัตว์[[มอลลัสกา]][[ชั้นไบวาลเวีย|ฝาคู่]]อาศัยอยู่ในทะเล จัดอยู่ในวงศ์ Pectinidae หอยเชลล์พบได้ทุกมหาสมุทรของโลก หอยเชลล์จำนวนมากเป็นแหล่งอาหารราคาสูง ทั้งเปลือกสีสว่าง รูปพัดของหอยเชลล์บางตัว พร้อมกับแบบร่องเว้าแผ่ออกจากศูนย์กลาง ทำให้มีค่าสำหรับนักสะสมหอย
 
ชื่อ "scallop" แผลแผลงมาจากภาษาฝรั่งเศสโบราณ escalope หมายถึง "เปลือก"
 
== กายวิภาค ==
เช่นเดียวกับ[[หอยนางรม]]แท้ (วงศ์ Ostreidae) หอยเชลล์มีกล้ามเนื้อปิดฝาอยู่ตรงกลาง ดังนั้นข้างในเปลือกของหอยมีแผลเป็นกลางอันเป็นลักษณะเฉพาะ เป็นจุดยึดสำหรับกล้ามเนื้อนี้<ref name=Bivalve>{{cite web|url=http://naturalhistory.museumwales.ac.uk/britishbivalves/Morphology.php|title=Bivalve Shell Structures|author=National Museum Wales, Department of Biodiversity & Systematic Biology|accessdate=2011-08-15}}</ref> กล้ามเนื้อปิดฝาของหอยเชลล์ใหญ่กว่าและพัฒนากว่ากล้ามเนื้อปิดฝาของหอยนางรม เพราะพวกมันเป็นนักว่ายน้ำที่กระตือรือร้น ชาวประมงและนักวิทยาศาสตร์บางคนบอกว่า หอยเชลล์เป็นสัตว์อพยพ แต่มีหลักฐานสนับสนุนน้อยอยู่<ref name=Book>{{cite book |title=Scallops: Biology, Ecology and Aquaculture, Volume 35, Second Edition (Developments in Aquaculture and Fisheries Science) |last= |first= |authorlink= |coauthors= |year=2006 |publisher=Elsevier Science |location= |isbn=978-0444504821 |pages=709 |url=http://books.google.com/books?id=1qvoa2ULLD4C&pg=PA709&lpg=PA709&dq=scallop+migrate&source=bl&ots=BfK9x9e5HU&sig=4F4XsjPcrDRjcQR5XZZip0v-dGY&hl=en&ei=ejZJTqGrLcfbsgbOz4GsAg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=5&ved=0CDQQ6AEwBA#v=onepage&q=scallop%20migrate&f=false |accessdate=2011-08-15 }}</ref> เปลือกของมันค่อนข้างมีลักษณะสม่ำเสมอ ซึ่งทำให้นึกถึงหอยทะเลต้นแบบ และเพราะรูปทรงเรขาคณิตที่น่าพอใจนี้เอง ทำให้เปลือกหอยเชลล์เป็นของประดับตกแต่งทั่วไป
 
หอยเชลล์มีตาธรรมดามากถึง 100 ดวง ร้อยอยู่รอบขอบแมนเทิลของมันเหมือนกับร้อยลูกปัด ดวงตาเหล่านี้มีจำนวนไม่คงที่ เพราะธรรมดาสำหรับหอยประเภทนี้ที่จะงอกตาใหม่เพิ่ม ทั้งยังงอกใหม่เวลาบาดเจ็บได้ด้วย<ref name=IWE>{{cite book |title=International Wildlife Encyclopedia |last=Burton |first=Maurice |authorlink= |coauthors=Robert Burton |year=2002 |publisher=Marshall Cavendish Corporation |location= |isbn=978-0761472827 |pages=2248-2249 |url=http://books.google.com/books?id=4QQCfJnu_6oC&pg=PA2249&dq=scallop+eyes&hl=en&ei=a0JJTqL4OY6d-wbnreSZBw&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CC4Q6AEwAQ#v=onepage&q=scallop%20eyes&f=false |accessdate=2011-08-15 }}</ref> หากมันสูญเสียดวงตาทั้งหมด มันจะกลับมาเหมือนเดิมภายในสองเดือน<ref name=IWE/> ดวงตาเหล่านี้เป็นดวงตาสะท้อนแสง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราวหนึ่งมิลลิเมตร โดยมี[[เรตินา]]ซึ่งมีความซับซ้อนกว่าเรตินาของหอยฝาคู่แบบอื่น ตาของมันประกอบด้วยเรตินาสองประเภท ประเภทหนึ่งตอบสนองต่อแสง และอีกประเภทหนึ่งขับความมืดออกไป อย่างเช่น เงาของผู้ล่าที่อยู่ใกล้ ๆ ดวงตาเหล่านี้ไม่สามารถแยกแยะรูปทรงได้ แต่รับรู้การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแสงและการเคลื่อนไหวได้<ref>http://www.asknature.org/strategy/1e779a45a88aef5c45448073f1e77216</ref><ref>Land MF and Fernald RD (1992) [http://redwood.berkeley.edu/vs265/landfernald92.pdf "The evolution of eyes"] ''Annual review of neuroscience,'' '''15''': 1–29.</ref>
 
ดวงตาสะท้อนแสงนี้แทนเลนส์ที่ข้างในตาเรียงรายไปด้วยกระจกซึ่งสะท้อนภาพไปโฟกัสที่จุดกึ่งกลาง<ref name=Land1992/> ธรรมชาติของดวงตาเหล่านี้หมายความว่า หากดวงหนึ่งจ้องเข้าไปในรูม่านตาของดวงตา ดวงตานั้นจะเห็นภาพเดียวกับที่สิ่งมีชีวิตนั้นเห็น โดยสะท้อนกลับออกมา<ref name=Land1992/> หอยเชลล์จีนัส ''Pecten'' มีดวงตาสะท้อนแสงขนาดถึง 100 มิลลิเมตร อยู่ตรงขอบเปลือก ซึ่งสามารถตรวจจับวัตถุเคลื่อนไหวขณะที่เคลื่อนผ่านเลนส์ต่อเนื่องกัน<ref name=Land1992>{{cite journal