ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกักกัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[Image:Japanese internment camp in British Columbia.jpg|thumb|280px|[[ค่ายกักกันชาวญี่ปุ่นในแคนาดา|ค่ายกักกัน]][[ชาวญี่ปุ่นแคนาดา]]ใน[[รัฐบริติชโคลัมเบีย]]ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]]]
'''การกักกัน''' ({{lang-en|Internmentinternment}}) คือ การจำขังหรือการกักประชาชน ซึ่งมักเป็นชนกลุ่มใหญ่ ให้อยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นการเฉพาะ<ref>per Oxford Universal Dictionary, 1st edition 1933.</ref> โดยไม่มีการพิจารณาในศาล [[พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด]] ฉบับตีพิมพ์ ค.ศ. 1989 ให้นิยามว่า: ''การกระทำ 'การกักกัน'; การกักขังภายในบริเวณของประเทศหรือสถานที่'' การใช้คำนี้ในสมัยปัจจุบันหมายถึงการกระทำต่อบุคคล และมีการแยกความแตกต่างระหว่างการกักกัน ซึ่งมีเหตุผลเพื่อการป้องกันหรือเหตุผลทางการเมือง และการจำขัง (imprisonment) ที่เป็นโทษทางอาญา
 
การกักกันยังหมายถึงการปฏิบัติของ[[ประเทศที่เป็นกลาง]]ในช่วงเวลา[[สงคราม]]ในการกักกัน[[กองทัพ]]ของคู่สงครามและยุทโธปกรณ์ในดินแดนของตนภายใต้[[อนุสัญญาเฮก ค.ศ. 1899 และ 1907]] (Hague Conventions)<ref>[http://www.yale.edu/lawweb/avalon/lawofwar/hague05.htm The Second Hague Convention, 1907]</ref>
บรรทัด 9:
 
[[ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน]]จำกัดการใช้การกักกัน โดยในมาตรา 9 ระบุว่า "บุคคลใดจะถูกจับ กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการมิได้"
 
== ค่ายเชลย ==
[[ค่ายกักกัน]]เชลย (internment camp) เป็นศูนย์กักกันขนาดใหญ่ซึ่งสร้างขึ้นมาเพื่อกักกันศัตรูทางการเมือง ต่างด้าวชาติศัตรู บุคคลที่มีอาการจิตเภท สมาชิกของกลุ่มเชื้อชาติหรือศาสนาบางกลุ่ม ผู้อยู่อาศัยที่เป็นพลเรือนในเขตพื้นที่สงครามวิกฤต หรือกลุ่มประชากรอื่น ซึ่งโดยปกติมักมีขึ้นระหว่างสงคราม คำว่า "ค่ายกักกันเชลย" ใช้กับสถานที่ซึ่งเลือกผู้ถูกกักกันตามเกณฑ์มาตรฐานบางประการ มิใช่ถูกกักขังเป็นรายบุคคลตามกระบวนการทางกฎหมายอย่างยุติธรรมซึ่งบังคับโดยฝ่ายตุลาการ
 
จากผลของการทำทารุณพลเรือนที่ถูกกักกันในช่วงความขัดแย้งล่าสุดในช่วงเวลานั้น จึงได้มีการบัญญัติอนุสัญญาเจนีวาที่สี่ขึ้นใน ค.ศ. 1949 เพื่อให้การคุ้มครองพลเรือนในช่วงสงคราม "ในมือ" ของฝ่ายศัตรู และภายใต้การยึดครองใด ๆ ของอำนาจต่างชาติ มี 194 ประเทศให้สัตยาบันในอนุสัญญาดังกล่าว ค่ายเชลยศึกเป็นค่ายกักกันเชลยซึ่งมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อควบคุมสมาชิกของกองทัพฝ่ายข้าศึกตามนิยามในอนุสัญญาเจนีวาที่สาม และการปฏิบัติต่อเชลยศึกก็มีการบัญญัติไว้ในอนุสัญญานั้นเช่นกัน
 
== ค่ายกักกัน ==
นักประวัติศาสตร์ชาวโปแลนด์ Władysław Konopczyński เสนอว่า ค่ายกักกันถูกจัดตั้งขึ้นใน[[โปแลนด์]]เป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ระหว่างกบฏสหพันธ์บาร์ (Bar Confederation) เมื่อ[[จักรวรรดิรัสเซีย]]จัดตั้งค่ายกักกันสามแห่งสำหรับนักโทษกบฏโปแลนด์ระหว่างรอการเนรเทศไปยัง[[ไซบีเรีย]]
[[ค่ายกักกัน]]เป็นศูนย์กักกันขนาดใหญ่ซึ่งสร้างขึ้นมาเพื่อกักกันศัตรูทางการเมือง ต่างด้าวชาติศัตรู บุคคลที่มีอาการจิตเภท สมาชิกของกลุ่มเชื้อชาติหรือศาสนาบางกลุ่ม ผู้อยู่อาศัยที่เป็นพลเรือนในเขตพื้นที่สงครามวิกฤต หรือกลุ่มประชากรอื่น ซึ่งโดยปกติมักมีขึ้นระหว่างสงคราม คำว่า "ค่ายกักกัน" ใช้กับสถานที่ซึ่งเลือกผู้ถูกกักกันตามเกณฑ์มาตรฐานบางประการ มิใช่ถูกกักขังเป็นรายบุคคลตามกระบวนการทางกฎหมายอย่างยุติธรรมซึ่งบังคับโดยฝ่ายตุลาการ
 
ส่วนค่ายกักกันที่เก่าแก่ที่สุดอาจจัดตั้งขึ้นใน[[สหรัฐอเมริกา]] เพื่อกักกันพวก[[เชโรกี]]หรืออเมริกันพื้นเมืองอื่น ๆ ในคริสต์ทศวรรษ 1830 อย่างไรก็ตาม ค่ายเหล่านี้เดิมเรียกว่า reconcentrados ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยกองทัพสเปนใน[[คิวบา]]ระหว่างสงครามสิบปี (ค.ศ. 1868-1878) และโดยสหรัฐอเมริการะหว่างสงครามฟิลิปปินส์-อเมริกา (ค.ศ. 1899-1902)
จากผลของการทำทารุณพลเรือนที่ถูกกักกันในช่วงความขัดแย้งล่าสุดในช่วงเวลานั้น จึงได้มีการบัญญัติอนุสัญญาเจนีวาที่สี่ขึ้นใน ค.ศ. 1949 เพื่อให้การคุ้มครองพลเรือนในช่วงสงคราม "ในมือ" ของฝ่ายศัตรู และภายใต้การยึดครองใด ๆ ของอำนาจต่างชาติ มี 194 ประเทศให้สัตยาบันในอนุสัญญาดังกล่าว ค่ายเชลยศึกเป็นค่ายกักกันซึ่งมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อควบคุมสมาชิกของกองทัพฝ่ายข้าศึกตามนิยามในอนุสัญญาเจนีวาที่สาม และการปฏิบัติต่อเชลยศึกก็มีการบัญญัติไว้ในอนุสัญญานั้นเช่นกัน
 
== อ้างอิง ==