ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ธนาคารกลางญี่ปุ่น''' ({{Nihongo|日本銀行|''Nippon Ginkō''}}) มักเรียกย่อว่า นิชิงิน ({{nihongo|日銀}}) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในชูโอะ กรุง[[โตเกียว]]<ref>"[http://www.boj.or.jp/en/type/etc/tokyo.htm Guide Map to the Bank of Japan Tokyo Head Office]." Bank of Japan. Retrieved on December 22, 2009.</ref>
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ธนาคารกลางญี่ปุ่นก่อตั้งขึ้นหลัง[[การปฏิรูปเมจิ]] เช่นเดียวกับสถาบันสมัยใหม่ของญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ก่อนหน้าการปฏิรูป ที่ดินศักดินา (fief) ของญี่ปุ่นทั้งหลายต่างออกเงินตราของตัวเอง เรียกว่า ฮันซัตสุ (hansatsu) ซึ่งเป็นระเบียบหน่วยเงินที่เข้ากันไม่ได้ แต่พระราชบัญญัติเงินตราใหม่แห่งปีเมจิที่ 4 (ค.ศ. 1871) ยกเลิกระบบเหล่านี้ และสถาปนาเงินสกุล[[เยน]] เป็นเงินตราระบบทศนิยมใหม่ คล้ายกันกับเงินดอลล่าร์เงินของ[[เม็กซิโก]]<ref>Nussbaum, "Banks" at {{Google books|p2QnPijAEmEC|p. 69.|page=69}}</ref> ระบบฮัน (han) กลายมาเป็น[[จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น|จังหวัด]] และโรงกษาปณ์ในดินแดนต่าง ๆ กลายมาเป็นธนาคารที่เอกชนเป็นผู้ถือใบอนุญาต ซึ่ง อย่างไรก็ตาม ในช่วงแรกธนาคารเหล่านี้ยังมีสิทธิที่จะพิมพ์เงินออกมาอยู่ มีอยู่ช่วงเวลาหนึ่งที่รัฐบาลกลางและที่เรียกว่า ธนาคาร "แห่งชาติ" เหล่านี้ได้ออกเงินตรา ช่วงแห่งผลสืบเนื่องที่ผิดคาดนี้สิ้นสุดลงเมื่อธนาคารกลางญี่ปุ่นถูกก่อตั้งขึ้นในปีเมจิที่ 15 (ค.ศ. 1882) ตามแบบของ[[เบลเยียม]] และได้ถือครองบางส่วนโดยเอกชนนับแต่นั้น<ref>Vande Walle, Willy ''et al.'' [http://www.researchportal.be/en/project/institutions-and-ideologies-the-modernization-of-monetary-legaland-law-enforcement-regimes-in-japan-in-the-early-meiji-period-1868-1889--(KUL_3H030060)/ "Institutions and ideologies: the modernization of monetary, legal and law enforcement 'regimes' in Japan in the early Meiji-period (1868-1889)"] (abstract). FRIS/Katholieke Universiteit Leuven, 2007.</ref> มีการปรับเปลี่ยนอีกหลายครั้งยึดตามธนาคารกลางของประเทศอื่น ซึ่งแวดล้อมภายในระเบียบข้อบังคับที่ธนาคารจัดตั้งขึ้น<ref>Longford, Joseph Henry. (1912). [http://books.google.com/books?id=rpRFAAAAIAAJ&pg=PA293&dq=bank+of+Japan&client=firefox-a#PPA289,M1 ''Japan of the Japanese,'' p. 289.]</ref> สถาบันได้รับการผูกขาดการควบคุมปริมาณเงินใน ค.ศ. 1884 แต่ต้องรอหลังจากนั้นอีก 20 ปี ก่อนที่ธนบัตรที่ออกไปก่อนหน้านี้จะหมดอายุ<ref>Cargill, Thomas ''et al.'' (1997). [http://books.google.com/books?id=f3s47HWB8g8C&pg=PA197&dq=bank+of+Japan&client=firefox-a#PPA10,M1 ''The political economy of Japanese monetary policy,'' p. 10.]</ref>
 
หลังการผ่านระเบียบธนบัตรธนาคารที่เปลี่ยนแปลงได้ (พฤษภาคม ค.ศ. 1884) ธนาคารกลางญี่ปุ่นออกธนบัตรธนาคารเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1885 (ปีเมจิที่ 18) แม้จะมีข้อบกพร่องเล็กน้อยบางประการ แต่การทำงานของธนาคารกลางประสบความสำเร็จเป็นส่วนใหญ่ ใน ค.ศ. 1897 ญี่ปุ่นเข้าร่วม[[มาตรฐานทองคำ]]<ref>Nussbaum, "Banks" at {{Google books|p2QnPijAEmEC|p. 70.|page=70}}</ref> และใน ค.ศ. 1899 อดีตธนบัตรธนาคาร "แห่งชาติ" ได้หมดอายุลงอย่างเป็นทางการ
 
ธนาคารกลางญี่ปุ่นดำเนินการอย่างต่อเนื่องนับแต่ก่อตั้งขึ้น อย่างไรก็ตาม มีการจัดระบบองค์กรใหม่ใน ค.ศ. 1942 ภายใต้พระราชบัญญัติธนาคารญี่ปุ่น ค.ศ. 1942 ({{lang-ja|日本銀行法 昭和17年法律第67号}}) และมีช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองสั้น ๆ ระหว่างการยึดครองญี่ปุ่น เมื่อการทำงานของธนาคารถูกชะลอไป และมีการออกเงินตราทางทหาร ใน ค.ศ. 1949 มีการจัดระบบองค์กรใหม่อีกครั้ง<ref name="nussbaum708"/>
 
ในคริสต์ทศวรรษ 1970 บรรยากาศการทำงานของธนาคารพัฒนาไปพร้อมกับการเปลี่ยนผ่านจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราคงที่ และเศรษฐกิจค่อนข้างปิด มาเป็นเศรษฐกิจเปิดขนาดใหญ่ที่มีอัตราแลกเปลี่ยนที่ค่าเปลี่ยนแปลงได้<ref>Cargill, [http://books.google.com/books?id=f3s47HWB8g8C&pg=PA197&dq=bank+of+Japan&client=firefox-a p. 197.]</ref>
ระหว่างช่วงหลังสงครามทั้งหมด กระทั่งถึงอย่างน้อย ค.ศ. 1991 นโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นดำเนินการผ่านการควบคุมเครดิต "แนะนำหน้าต่าง" (窓口指導) เป็นหลัก ซึ่งเป็นรูปแบบเครื่องมือหลักของธนาคารกลางจีนสำหรับการนำนโยบายการเงินไปปฏิบัติ โดยธนาคารกลางจะกำหนดโควตาสินเชื่อธนาคารแก่ธนาคารพาณิชย์ เครื่องมือดังกล่าวมีส่วนสำคัญในการก่อให้เกิด "เศรษฐกิจฟองสบู่" ในคริสต์ทศวรรษ 1980 จากนั้น นโยบายดังกล่าวถูกนำไปปฏิบัติโดย "แผนกธุรกิจ" (営業局) ในเวลานั้น ซึ่งเป็นผู้นำระหว่าง "ปีฟองสบู่" จาก ค.ศ. 1986 ถึง 1989 โดยมีโทชิฮิโกะ ฟุกุอิ เป็นหัวหน้า ต่อมาเป็นรองผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นในคริสต์ทศวรรษ 1990 และผู้ว่าการใน ค.ศ. 2003
 
ระหว่างช่วงหลังสงครามทั้งหมด กระทั่งถึงอย่างน้อย ค.ศ. 1991 นโยบายการเงินของธนาคารกลางญี่ปุ่นดำเนินการผ่านการควบคุมเครดิต "แนะนำหน้าต่าง" (窓口指導) เป็นหลัก ซึ่งเป็นรูปแบบเครื่องมือหลักของธนาคารกลางจีนสำหรับการนำนโยบายการเงินไปปฏิบัติ โดยธนาคารกลางจะกำหนดโควตาสินเชื่อธนาคารแก่ธนาคารพาณิชย์ เครื่องมือดังกล่าวมีส่วนสำคัญในการก่อให้เกิด "เศรษฐกิจฟองสบู่" ในคริสต์ทศวรรษ 1980 จากนั้น นโยบายดังกล่าวถูกนำไปปฏิบัติโดย "แผนกธุรกิจ" (営業局) ในเวลานั้น ซึ่งเป็นผู้นำระหว่าง "ปีฟองสบู่" จาก ค.ศ. 1986 ถึง 1989 โดยมีโทชิฮิโกะ ฟุกุอิ เป็นหัวหน้า ต่อมาเป็นรองผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นในคริสต์ทศวรรษ 1990 และผู้ว่าการใน ค.ศ. 2003<ref>Werner, Richard (2002). ‘Monetary Policy Implementation in Japan: What They Say vs. What they Do’, Asian Economic Journal, vol. 16 no.2, Oxford: Blackwell, pp. 111-151; Werner, Richard (2001). Princes of the Yen, Armonk: M. E. Sharpe [http://books.google.com/books?id=8VwMxQY6Kj8C&printsec=frontcover&dq=princes+of+the+yen&hl=en&ei=ppiITMOCH4vGswb03ZXWCg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1&ved=0CDAQ6AEwAA#v=onepage&q&f=false]</ref>
การทบทวนพระราชบัญญัติธนาคารญี่ปุ่นครั้งใหญ่ใน ค.ศ. 1997 มีจุดประสงค์เพื่อให้ธนาคารกลางมีอิสระมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า มีอิสระในการดำเนินการมากเกินไป และขาดการตรวจสอบได้ก่อนที่กฎหมายฉบับนี้จะผ่านแล้ว อย่างไรก็ตาม นับแต่การใช้บังคับกฎหมายใหม่นี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นปฏิเสธคำขอของรัฐบาลที่ขอให้กระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
 
การทบทวนพระราชบัญญัติธนาคารญี่ปุ่นครั้งใหญ่ใน ค.ศ. 1997 มีจุดประสงค์เพื่อให้ธนาคารกลางมีอิสระมากยิ่งขึ้น<ref>Cargill, [http://books.google.com/books?id=f3s47HWB8g8C&pg=PA197&dq=bank+of+Japan&client=firefox-a#PPA19,M1 p. 19].</ref> อย่างไรก็ตาม ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า มีอิสระในการดำเนินการมากเกินไป และขาดการตรวจสอบได้ก่อนที่กฎหมายฉบับนี้จะผ่านแล้ว<ref>Horiuchi, Akiyoshi (1993), "Japan" in Chapter 3, "Monetary policies" in Haruhiro Fukui, Peter H. Merkl, Hubrtus Mueller-Groeling and Akio Watanabe (eds.), The Politics of Economic Change in Postwar Japan and WWest Germany, vol. 1, Macroeconomic Conditions and Policy Responses, London: Macmillan. Werner, Richard (2005), New Paradigm in Macroeconomics, London: Macmillan.</ref> อย่างไรก็ตาม นับแต่การใช้บังคับกฎหมายใหม่นี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นปฏิเสธคำขอของรัฐบาลที่ขอให้กระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง<ref>See rebuffed requests by the government representatives at BOJ policy board meetings: e.g. [http://www.boj.or.jp/en/type/release/teiki/giji/g001130.htm] or refusals to increase bond purchases: Bloomberg News [http://www.bloomberg.com/news/2010-09-09/governor-shirakawa-defends-boj-s-self-imposed-cap-on-government-bond-buys.html]</ref>
 
== ภารกิจ ==
เส้น 20 ⟶ 22:
* กิจการระหว่างประเทศ
* รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ และกิจกรรมวิจัย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*{{ja icon}} {{en icon}} [http://www.boj.or.jp/ Bank of Japan official site]
 
[[หมวดหมู่:ธนาคารกลาง]]