ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
 
=== ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ ===
ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของ IUPAC นั้นแบ่งออกเป็นสามส่วหลัก ได้แก่ หมู่แทนที่ ความยาวโซ่คาร์บอนและชื่อเคมีลงท้าย<ref name="Chemistry The Central Science"/> หมู่แทนที่หมายถึงหมู่ฟังก์ชันใด ๆ ที่เกาะเข้ากับโซ่คาร์บอนหลัก โซ่คาร์บอนหลักเป็นโซ่ที่ประกอบด้วย[[คาร์บอน]]เกาะกันเป็นแถวที่ยาวที่สุดที่เป็นไปได้ ส่วนชื่อเคมีลงท้ายเป็นการระบุว่าโมเลกุลของสารนั้นเป็นประเภทใด ยกตัวอย่างเช่น ชื่อลงท้าย "เอน" หมายความว่า ในโซ่คาร์บอนนั้นเกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด เช่นใน "เฮกเซน" (C<sub>6</sub>H<sub>14</sub>)<ref name="Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts">{{Cite book|last= Klein |first= David R. |title= Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts Second Edition |publisher= John Wiley & Sons Inc. |year= 2008 |isbn=978-0470-12929-6}}</ref>
 
อีกตัวอย่างหนึ่งของระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของ IUPAC คือ ไซโคลเฮกซานอล
บรรทัด 19:
* ชื่อเคมีลงท้ายสำหรับโซ่คาร์บอนที่เกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด คือ "เ-น"
* ชื่อเคมีลงท้ายสำหรับ[[แอลกอฮอล์]] คือ "-อล"
ชื่อเคมีลงท้ายทั้งสองเมื่อประกอบกันแล้วได้เป็น "-านอล" ซึ่งหมายถึงโซ่คาร์บอนที่เกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมดและมีแอลกอฮอล์มาเกาะโซ่คาร์บอนนั้นด้วย<ref name="Chemistry The Central Science">{{Cite book|last= Brown |first= Theodore L. |coauthors= H. Eugene LeMay Jr, Bruce E Bursten |title= Chemistry The Central Science Tenth Edition |publisher= Pearson Books |year= 2006 |isbn= 0-13-109686-9}}</ref><ref name="Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts">{{Cite book|last= Klein |first= David R. |title= [[Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts Second Edition]] |publisher= [[John Wiley & Sons Inc.]] |year= 2008 |isbn= 978-0470-12929-6}}</ref><ref name="Gold Book second edition">{{cite web|url=http://old.iupac.org/publications/compendium/ |title=Gold Book web page |publisher=Old.iupac.org |date=2006-10-19 |accessdate=2011-06-08}}</ref>
 
=== ระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ ===
ระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์พื้นฐานของ IUPAC นั้นมีสองส่วนหลัก คือ [[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] ไอออนบวกเป็นชื่อสำหรับไอออนที่มีประจุบวกและไอออนลบเป็นชื่อสำหรับไอออนที่มีประจุลบ
 
ตัวอย่างของระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ของ IUPAC คือ [[โพแทสเซียมคลอไรด์]] ซึ่ง[[โพแทสเซียม]]เป็นชื่อไอออนบวก และ[[คลอไรด์]]เป็นไอออนลบ<ref name="Chemistry The Central Science"/>
 
== อ้างอิง ==