ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูปแบบการดำเนินชีวิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''รูปแบบการดำเนินชีวิต''' (หรือเรียกทับศัพท์ว่า '''ไลฟ์สไตล์''') หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิตของบุคคล โดยที่ลักษณะของพฤติกรรมต่างๆจะเป็นตัวบ่งบอกถึง รูปแบบการดำเนินชีวิต แต่ละแบบ
 
พฤติกรรมในการเข้าสังคม ในการบริโภค ในการหาความบันเทิง การพักผ่อนหย่อนใจใช้เวลาว่าง และการแต่งตัว ล้วนเป็นส่วนประกอบของรูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการดำเนินชีวิตจะถูกดำเนินเป็น อุปนิสัย เป็นวิธีประจำที่กระทำสิ่งต่างๆ
รูปแบบการดำเนินชีวิต จะถูกดำเนินเป็น อุปนิสัย เป็นวิธีประจำที่กระทำสิ่งต่างๆ
 
== อัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล (Individual identity) ==
 
รูปแบบการดำเนินชีวิต โดยทั่วไปแล้วจะ บ่งบอกถึง ทัศนคติ ค่านิยม และ มุมมอง ของแต่ละบุคคล ดังนั้นรูปแบบการดำเนินชีวิต จึงมีความหมายในเชิงของอัตตาหรือตัวตน และใช้ในการสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ประกอบกับอัตลักษณ์ของบุคคล<ref>Spaargaren, G., and B. VanVliet. 2000. ‘Lifestyle, Consumption and the Environment: The Ecological Modernisation of Domestic Consumption.’ Environmental Politics. 9(1): 50-75.</ref>
 
เส้นแบ่งระหว่างอัตลักษณ์ของบุคคลกับการทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวันนั้น เลือนลางลงในสังคมยุคใหม่<ref>Giddens, A. 1991. Modernity and self-identity: self and society in the late modern age. Cambridge: Polity Press.</ref> ยกตัวอย่าง "กรีนไลฟ์สไตล์" (green lifestyle) ที่หมายถึง การยึดถึงความเชื่อและก็มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะลดการบริโภคหรือใช้ทรัพยากรธรรมให้น้อยลง รวมถึงลดการสร้างของเสียมีพิษลงด้วย (เช่น การลด[[รอยเท้าคาร์บอน]]ลง), และการพัฒนาสำนึกแห่งตนจากความเชื่อและการทำกิจกรรมเหล่านั้น แต่มีบางคนวิจารณ์ว่า ในสังคมยุคใหม่ ประเด็นที่สำคัญของรูปแบบการดำเนินชีวิต ก็คือ พฤติกรรมการบริโภค ที่ให้โอกาสในการสร้างและพัฒนาความเป็นตัวเองจากการบริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หลากหลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านั้นเองที่เป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน<ref> Ropke, I. 1999. ‘The Dynamics of Willingness to Consume. Ecological Economics. 28: 399-420.</ref>
เส้นแบ่งระหว่างอัตลักษณ์ของบุคคลกับการทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวันนั้น เรือนรางลงในสังคมยุคใหม่<ref>Giddens, A. 1991. Modernity and self-identity: self and society in the late modern age. Cambridge: Polity Press.</ref>
ยกตัวอย่าง "กรีนไลฟ์สไตล์" (green lifestyle) ที่หมายถึง การยึดถึงความเชื่อและก็มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะลดการบริโภคหรือใช้ทรัพยากรธรรมให้น้อยลง รวมถึงลดการสร้างของเสียมีพิษลงด้วย (เช่น การลด[[รอยเท้าคาร์บอน]]ลง), และการพัฒนาสำนึกแห่งตนจากความเชื่อและการทำกิจกรรมเหล่านั้น
แต่มีบางคนวิจารณ์ว่า ในสังคมยุคใหม่ ประเด็นที่สำคัญของรูปแบบการดำเนินชีวิต ก็คือ พฤติกรรมการบริโภค ที่ให้โอกาสในการสร้างและพัฒนาความเป็นตัวเองจากการบริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หลากหลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านั้นเองที่เป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน<ref> Ropke, I. 1999. ‘The Dynamics of Willingness to Consume. Ecological Economics. 28: 399-420.</ref>
 
==โฆษณาและการตลาด==
ในวงการ[[ธุรกิจ]] "รูปแบบการดำเนินชีวิต" จะช่วยให้การโฆษณาและการทำตลาด สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เหมาะสม โดยการนำเสนอสินค้าและบริการที่มีลักษณะเฉพาะเข้ากับแต่ละรูปแบบ รวมถึงใช้ในสังเคราะห์วิธีที่ใช้การกระตุ้นความต้องการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
 
รูปแบบการดำเนินชีวิตจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยเช่น อุปนิสัย ทัศนคติ รสนิยม ค่านิยมทางศีลธรรม ฐานะทางเศรษฐกิจ และอื่นๆ