ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระบวนการฮาเบอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 21:
 
ขั้นตอนสุดท้ายนี้มีความจำเป็นเนื่องจากคาร์บอนมอนออกไซด์เป็นพิษต่อตัวเร่งปฏิกิริยา และยังเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับของกระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยไอน้ำ ปฏิกิริยาทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้เปลี่ยนมีเทนและไอน้ำเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำและไฮโดรเจน
 
=== การสังเคราะห์แอมโมเนีย ===
ขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งเป็นกระบวนการฮาเบอร์ที่แท้จริง เป็นการสังเคราะห์แอมโมเนียโดยใช้รูปของ[[แมกเนไทท์]] เหล็กออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา:
:N<sub>2</sub> (g) + 3 H<sub>2</sub> (g) {{eqm}} 2 NH<sub>3</sub> (g) (ΔH = -92.22 kJ·[[Mole (unit)|mol]]<sup>&minus;1</sup>)
 
ปฏิกิริยาดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้ความดัน 15-25 เมกะ[[ปาสคาล]] (150-250 [[บาร์ (หน่วยวัด)|บาร์]]) ที่อุณหภูมิระหว่าง 300-550 °C โดยการผ่านแก๊สเข้าไปเหนือชั้นตัวเร่งปฏิกิริยา พร้อมกับให้ความเย็นเข้าไปในแต่ละชั้นเพื่อรักษา[[ค่าคงที่สมดุล]]ให้มีความเหมาะสม ในแต่ละชั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นไปเป็นแอมโมเนียเพียง 15% แต่แก๊สที่ยังไม่ทำปฏิกิริยาทั้งหมดจะสามารถนำกลับไปเริ่มต้นปฏิกิริยาใหม่ได้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดจึงเกิดขึ้นราว 98% ของจำนวนสารตั้งต้น
 
กระบวนการรีฟอร์มมิงด้วยไอน้ำ ชิฟต์คอนเวอร์ชัน การกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ และกระบวนการผลิตมีเทนจะเกิดขึ้นภายใต้ความดันสัมบูรณ์ราว 2.5-3.5 เมกะปาสคาล (25-35 บาร์) และการวนซ้ำของกระบวนการสังเคราะห์แอมโมเนียจะเกิดขึ้นภายใต้ความดันสัมบูรณ์ระหว่าง 6-18 เมกะปาสคาล (60-180 บาร์) ขึ้นอยู่กับการออกแบบของเจ้าของ
 
== อ้างอิง ==