ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรบที่เมืองรุมเมืองคัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
| notes =
}}
 
เมื่อกษัตริย์พม่า(บุเรงนอง) สวรรคต นันทบุเรง ขึ้นเป็นกษัตริย์แทน ทำให้เจ้าประเทศราชไทยใหญ่กระด้างกระเดื่องเช่น เจ้าฟ้าเมืองคัง พม่าต้องการตีเมืองคัง เพื่อปราบปรามให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศราชอื่น ๆ และเป็นการแผ่ศักดานุภาพ นันทบุเรง ต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ โดยจัดให้เจ้านายรุ่นหนุ่มพม่า และรุ่นหนุ่มของไทยเป็นแม่ทัพ เข้าตีเมืองคนละ ๑ วัน โดยมีเมืองคังเป็นเป้าหมายในการเข้าตี นันทบุเรง มีความมุ่งหมายจะให้ประเทศราชอื่น ๆ เกิดความเลื่อมใสนิยมในพระมหาอุปราชา ซึ่งเป็นราชโอรส จะต้องเป็นรัชทายาทครองแผ่นดินสืบไป และคาดคิดว่าคงจะเข้าตีเมืองคังได้สำเร็จ ขณะนั้น สมเด็จพระนเรศวร อยู่ในประเทศพม่าในฐานะเป็นตัวประกัน.
'''การรบที่เมืองคัง''' เป็นผลมาจากการสวรรคตของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]] พระมหากษัตริย์พม่า ทำให้เจ้าประเทศราชไทยใหญ่กระด้างกระเดื่องต่อพม่า พม่าต้องการปราบปรามเพื่อให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศราชอื่น ๆ [[พระเจ้านันทบุเรง]]ทรงต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ ทรงจัดให้เจ้านายพม่าและ[[สมเด็จพระนเรศวร]]เข้าตีเมืองคังคนละวัน เจ้านายพม่าทั้งสองไม่สามารถเข้าตีเมืองได้ จนถึงวันที่สาม สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้เส้นทางลับเข้าตีเมืองจนสำเร็จ
 
== การต่อสู้ ==
* กองทัพพระมหาอุปราชา ทำการเข้าตีวันแรกก็ถูกฝ่ายข้าศึกผลักก้อนศิลาลงมาทับผู้คนล้มตายเป็นอัน มาก มิอาจจะเข้าตีต่อไปได้ ในที่สุดต้องถอยทัพกลับลงมายังค่ายเชิงเขา
 
* กองทัพพระสังกะทัต ทำการเข้าตีวันที่สอง เกิดการรบพุ่งกันเป็นสามารถ แต่ฝ่ายข้าศึกอยู่บนที่สูง ชัยภูมิมั่นได้ผลักก้อนศิลาลงมาถูกรี้พลพระสังกะทัตล้มตายเป็นอันมาก จะขึ้นหักเอามิได้ ก็ต้องถอยทัพกลับลงมาเช่นกัน
 
* กองทัพสมเด็จพระนเรศวร ในระหว่างกองทัพพม่าเข้าตีสองวันแรก สมเด็จพระนเรศวร ได้นำทหารออกสำรวจภูมิประเทศรอบ ๆ เมืองคัง และสังเกตผลการรบของกองทัพหม่าจนกระท่งพบเส้นทางลับด้านหลังเมืองคัง ซึ่งสามารถเข้าตีเมืองคังได้ง่ายกว่า โดยดำเนินการใช้กลยุทธในการเข้าตี สมเด็จพระนเรศวรแบ่งกำลังพลออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่หนึ่งทำการเข้าตีทางด้านหน้าระดมยิงปืนนกสับขึ้นไปอย่างแน่นหนา ในขณะที่ข้าศึกกำลังสาละวนผลักก้อนศิลา และทำการยิงโต้ตอบทางด้านหน้า สมเด็จพระนเรศวรทรงนำทหารจำนวนหนึ่งจู่โจมเข้าตีกระหนาบทางด้านหลังทำให้ข้า ศึกพะว้าพะวัง พระองค์ทรงนำทหารเข้าตีโดยมีการวางแผนอย่างรอบคอบ ใช้กำลังส่วนน้อยเข้าตีลวงข้าศึกเมืองคังด้านหน้า แล้วใช้กำลังส่วนใหญ่เข้าตีทางด้านหลังเมืองคังและสามารถเข้ายึดเมืองคังได้เป็นผลสำเร็จ
* กองทัพพระมหาอุปราชา ทำการเข้าตีวันแรกก็ถูกฝ่ายข้าศึกผลักก้อนศิลาลงมาทับผู้คนล้มตายเป็นอัน มาก มิอาจจะเข้าตีต่อไปได้ ในที่สุดต้องถอยทัพกลับลงมายังค่ายเชิงเขา
* กองทัพพระสังกะทัต ทำการเข้าตีวันที่สอง เกิดการรบพุ่งกันเป็นสามารถ แต่ฝ่ายข้าศึกอยู่บนที่สูง ชัยภูมิมั่นได้ผลักก้อนศิลาลงมาถูกรี้พลพระสังกะทัตล้มตายเป็นอันมาก จะขึ้นหักเอามิได้ ก็ต้องถอยทัพกลับลงมาเช่นกัน
* กองทัพสมเด็จพระนเรศวร ในระหว่างกองทัพพม่าเข้าตีสองวันแรก สมเด็จพระนเรศวร ได้นำทหารออกสำรวจภูมิประเทศรอบ ๆ เมืองคัง และสังเกตผลการรบของกองทัพหม่าจนกระท่งพบเส้นทางลับด้านหลังเมืองคัง ซึ่งสามารถเข้าตีเมืองคังได้ง่ายกว่า โดยดำเนินการใช้กลยุทธในการเข้าตี สมเด็จพระนเรศวรแบ่งกำลังพลออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่หนึ่งทำการเข้าตีทางด้านหน้าระดมยิงปืนนกสับขึ้นไปอย่างแน่นหนา ในขณะที่ข้าศึกกำลังสาละวนผลักก้อนศิลา และทำการยิงโต้ตอบทางด้านหน้า สมเด็จพระนเรศวรทรงนำทหารจำนวนหนึ่งจู่โจมเข้าตีกระหนาบทางด้านหลังทำให้ข้า ศึกพะว้าพะวัง พระองค์ทรงนำทหารเข้าตีโดยมีการวางแผนอย่างรอบคอบ ใช้กำลังส่วนน้อยเข้าตีลวงข้าศึกเมืองคังด้านหน้า แล้วใช้กำลังส่วนใหญ่เข้าตีทางด้านหลังเมืองคังและสามารถเข้ายึดเมืองคังได้เป็นผลสำเร็จ
 
=== ผลการต่อสู้ ===