ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หุย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MastiBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: os:Хуэйаг адæм
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
ชาวหุยเป็นนักสู้ที่ห้าวหาญ ในอดีตพวกเขาจำนวนมากรับราชการทหาร และสามารถไต่เต้าเป็นนายพลหรือแม่ทัพมากมาย และเช่นกันที่ชาวหุยจะจงรักภักดีต่อองค์จักรพรรดิอย่างที่สุด แม้พวกเขาจะเป็นลูกหลานชาวต่างชาติก็ตาม
 
== ประวัติ ==
'''ชาวหุย''' สืบเชื้อสายมาจากมุสลิม[[เปอร์เซีย|ชาวเปอร์เซีย]] [[อาหรับ]] และ[[เอเชียกลาง]] ที่อพยพเข้ามาใน[[จักรวรรดิจีน]]ในฐานะฑูตการเมือง ทหาร และพ่อค้า ตั้งแต่ศตวรรษที่ 8 บรรพบุรุษของชาวหุยจึงมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของจีน โดยเฉพาะบนเส้นทางสายไหมในภาคตะวันตกเฉียงเหนือ และเมืองท่าแถบชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน พ่อค้ามุสลิมนำสินค้ามีค่า เทคโนโลยีใหม่ และความมั่งคั่งสู่จักรวรรดิจีน เช่น เครื่องเทศ งาช้าง เพชรนิลจินดา พวกเขายังเผยแพร่เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ความรู้ด้าน[[ดาราศาสตร์]] และการแพทย์สู่สังคมจีน<ref>[http://www.chinesemuslimthailand.com/ Chinese Muslim Thai Hui Islam]</ref>
 
แม้ราชสำนักจีนได้จำกัดการค้าและการตั้งบ้านเรือนของชาวมุสลิมไว้ในจัตุรัสชาวต่างชาติเท่านั้น แต่ก็อนุญาตให้พ่อค้ามุสลิมแต่งกายได้อย่างอิสระ รับประทานอาหารและปฏิบัติศาสนกิจได้อย่างเสรี พ่อค้ามุสลิมจำนวนมากยึดประเทศจีนเป็นสถานที่ค้าขายและเริ่มก่อร่างสร้างครอบครัวที่นี่ พวกเขาจำนวนมากหัดพูดภาษาจีนและตั้งถิ่นฐานในประเทศจีนอย่างถาวร พ่อค้าบางคนแต่งงานกับสาวชาวฮั่นที่เปลี่ยนมารับอิสลาม ลูกหลานที่สืบเชื้อสายต่อมาจากพวกเขาจึงพูด[[ภาษาจีน]] และได้วางรากฐานชุมชนจีนมุสลิมที่กระจัดกระจายออกไปทั่วประเทศจีน
== ความจงรักภักดีของชาวหุยต่อจักรวรรดิจีน ==
 
หลายศตวรรษผ่านไป ชาวมุสลิมถูกกลืนเข้าไปในสังคมจีน หลังจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ รัฐบาลได้แบ่งมุสลิมออกเป็น 10 เชื้อชาติ กลุ่มที่ใหญ่ที่สุดคือ ชาวหุย ซึ่งต่างจากต่างจากชนกลุ่มน้อยอื่นๆ ตรงที่ไม่มีภาษาเป็นของตัวเอง ชาวหุยพูดภาษาจีนกลางของชาวฮั่น พวกเขาเหมือนกับชนกลุ่มน้อยมุสลิมกลุ่มอื่นๆ ตรงที่นับถืออิสลามเท่านั้น<ref>[http://www.chinesemuslimthailand.com/content.php?page=content&category=&subcategory=5&id=371 ชาวหุยคือใคร? Who are the Hui?]</ref>
 
== ความจงรักภักดีของชาวหุยต่อจักรวรรดิจีน ==
หลังจากกองทัพมองโกลเข้ายึดครองประเทศจีน ก่อตั้งราชวงศ์หยวน (ค.ศ.1279-1368) ชาวจีนฮั่นวางแผนโค่นล้มราชวงศ์ของชาวมองโกลหลายครั้ง และเป็น จูหยวนจาง ชาวนาผู้นำทัพชาวจีนขับไล่มองโกลออกไปจากแผ่นดินจีนได้ จูหยวนจางผู้เป็นปฐมจักรพรรดิราชวงศ์หมิงไม่เคยประกาศว่าพระองค์เป็นมุสลิม แต่แม่ทัพใกล้ชิดของพระองค์ทั้ง 6 คนเป็นมุสลิมแน่นอน ซึ่งได้แก่ ชางอี้ว์ชุน (Chang Yuchun), หูต้าไห่ (Hu Dahai), หมู่อิง (Mu Ying), หลันอี้ว์ (Lan Yu), เฟิงเซิง (Feng Sheng), และ ติงเต้อซิง (Ding Dexing) ซึ่งแม่ทัพทั้ง 6 คนเป็นปรมาจารย์วูซูชื่อดังของยุคนั้น แม่ทัพชางอี้ว์ชุนเป็นผู้คิดค้นวูซูที่โด่งดังคือ ไค่ผิงเฉียงฟา (Kai Ping Qiang Fa) หรือการต่อสู้ด้วยทวน วูซูประเภทนี้ยังคงสอนกันอยู่ในเมืองจีนจนกระทั่งทุกวันนี้ ส่วนแม่ทัพเฟิงเซิงมีผลงานโดดเด่นจนจูหยวนจางโปรดเกล้าให้เป็น “มหาอำมาตย์เฟิงแห่งราชวงศ์ซ่ง”
 
เส้น 33 ⟶ 37:
 
และเพราะการที่ชาวหุยมีความจงรักภักดีต่อราชวงศ์จีนสูงเช่นนี้แหละ ตลอดสมัยราชวงศ์ชิง (ค.ศ.1644-1911) ชาวหุยจึงไม่ได้รับความปรานีจากแมนจูเลย หากชาวหุยแสดงให้เห็นเพียงนิดว่ากระด้างกระเดื่องต่อผู้ปกครองชาวแมนจู พวกเขาจะถูกแมนจูปราบอย่างเหี้ยมโหด ชาวหุยยังถูกห้ามมิให้เดินไปไหนด้วยกันเกิน 3 คน ห้ามพกพาอาวุธ ส่วนชาวหุยคนใดประกอบอาชญากรรมแม้เพียงเล็กน้อยก็อาจโดนข้อหาหนักถึงขั้นเป็นกบฏต่อแผ่นดิน และถูกตราหน้าว่าเป็น “หุยกบฏ” การลงโทษเช่นนี้ก็เพื่อต้องการให้ชาวหุยได้รับความอับอาย ในขณะเดียวกันก็เพื่อข่มขู่มิให้พวกเขาลุกฮือขึ้นมาต่อต้านราชวงศ์ชิงอีก แต่การปราบปรามดังกล่าวกลับทำให้ชาวหุยมีความมุ่งมั่นยิ่งกว่าเดิม!
 
 
== บทบาทของชาวหุยต่อกังฟูจีน ==
 
 
Hui Contribution to Chinese Kung Fu
 
หลังราชวงศ์หมิงล่มสลายไปแล้ว ราชวงศ์ชิงห้ามชาวหุยฝึกกังฟูอีก แต่นั่นกลับทำให้ปรมาจารย์กังฟูมุสลิมแอบพัฒนากังฟูแบบฉบับของตนเอง จนกระทั่งกังฟูมุสลิมยืนยงอยู่บนแผ่นดินจีนจนกระทั่งทุกวันนี้
 
เส้น 74 ⟶ 73:
ลิ่วเหอปาฟา (Liu He Ba Fa)
อย่างไรก็ตาม กำเนิดของกังฟูประเภท ชา-หัวเฉวียน และถานถุ้ย ยังมีทั้งความขัดแย้งและความคล้ายคลึงกันอยู่บ้าง
 
 
== กำเนิดของกังฟูประเภทชาและหัว ==
 
 
The Origin of the Cha and Hua Style
 
จากบันทึกของตระกูลชา กังฟูชาเฉวียนได้รับความนิยมสูงและเป็นศิลปะการต่อสู้ของทางเหนือของจีนที่เก่าแก่มากทีเดียว กังฟูชาเฉวียนถือกำเนิดขึ้นในยุคเดียวกับที่เส้าหลินเริ่มพัฒนาขึ้นมา กังฟูชาเฉวียนเน้นเรื่องความไว การเคลื่อนไหวที่คล่องแคล่ว สามารถหยุดลงอย่างฉับพลันทันที และแน่นิ่งอยู่ในท่านั้น ผู้ฝึกกังฟูท่านี้ต้อง “วูบหนึ่งเคลื่อนไปคล้ายลมพัดไหว อีกวูบหนึ่งตรึงกับที่แน่นิ่ง”
 
เส้น 98 ⟶ 92:
 
ลักษณะทั่วไปของกังฟูแบบชา-หัวมีการเคลื่อนไหวและเทคนิคที่สวยงาม ง่าย เด่นชัด ต่อเนื่อง และมีจังหวะในการเผด็จศึก มีการออกหมัดที่แข็งแกร่งทรงพลังอย่างรวดเร็ว และใช้พลังอย่างมีประโยชน์ที่สุด ในการต่อสู้จะใช้ทั้งหมัดและขาในคราวเดียวกันเพื่อจัดการกับคู่ต่อสู้ การออกหมัดต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการเคลื่อนตัวที่คล่องแคล่ว เพื่อตบตาหรือหลอกคู่ต่อสู้ และจัดการกับคู่ต่อสู้ได้อย่างรวดเร็วที่สุด
 
 
== กำเนิดกังฟูประเภทถานถุ้ย ==
 
 
The Origin of the Tan Tui or Tom Toy Style
 
กังฟูถานถุ้ยหรือ ขาสปริง (Spring legs) ใหม่กว่าแบบชาเฉวียนหลายศตวรรษ พัฒนาขึ้นมาในสมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368—1644) ชาวหุยนิยมกังฟูถานถุ้ยแบบ 10 ท่า (10 routines) มากที่สุด
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หุย"