ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซฟาโลสปอริน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +ต้องการวิกิลิงก์ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{ปรับรูปแบบ}}
{{ต้องการหมวดหมู่}}
'''ยากลุ่ม Cephalosporins ''' จัดเป็นยาปฏิชีวนะกลุ่ม B-lactams ที่สกัดจากเชื้อรา ''Cephalosporium acremonium'' ซึ่งสารประกอบที่สกัดได้จากเชื้อรานี้มี 3 ชนิด คือ Cephalosporin P, Cephalosporin N และ Cephalosporin C ซึ่งยาที่ใช้ในปัจจุบันเป็นอนุพันธุ์กึ่งสังเคราะห์ที่ได้จาก Cephalosporin C เพราะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งและฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ทั้งแกรมบวกและแกรมลบ
 
== คุณสมบัติทางเคมี ==
'''เนื้อหา'''
[[1. คุณสมบัติทางเคมี
2. กลไกการออกฤทธิ์
3. ขอบเขตการออกฤทธิ์
4. การแบ่งกลุ่ม
5. กลไกการดื้อยา
6. เภสัชจลนศาสตร์
7. อาการไม่พึงประสงค์
8. ข้อห้ามและข้อควรระวัง
9. อ้างอิง]]
 
==คุณสมบัติทางเคมี==
ยากลุ่ม Cephalosporins มีสูตรโครงสร้างคล้ายยากลุ่ม Penicillins โดยโครงสร้างประกอบด้วย 7-aminocephalosporanic acid nucleus ซึ่งประกอบด้วยวงแหวน B-lactam เชื่อมติดกับวงแหวน dihydrothiazine ส่วน Penicillins นั้นโครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน B-lactam เชื่อมติดกับวงแหวน thiazolidine
 
== กลไกการออกฤทธิ์ ==
1. ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย โดยจับกับ penicillin-binding protein (PBP) แล้วยับยั้ง transpeptidase ใน PBP ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในการ cross-link สาย peptidoglycan เพื่อสร้างผนังเซลล์
 
2. กระตุ้นเอนไซม์ autolysin ทำให้แบคทีเรียย่อยสลายตัวเองมากขึ้น
เส้น 24 ⟶ 16:
 
== ขอบเขตการออกฤทธิ์ ==
'''Cephalosporin รุ่นที่ 1 (first generation) '''
 
ใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก เช่น Staphylococci Streptococci รวมทั้งแบคทีเรียแกรมลบบางชนิด เช่น E. coli, Klebsiella pneumoniae และ Proteus mirabilis ยาไม่ครอบคลุมเชื้อ Enterococci (Enterococcus faecalis) และ methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA)
 
 
 
'''Cephalosporin รุ่นที่ 2 (second generation) '''
 
มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียแกรมลบได้มากขึ้น เช่น Moraxella catarrhalis, Hemophilus influenza และ Neisseria แต่ออกฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมบวกได้ลดลงเมื่อเทียบกับ Cephalosporin รุ่นที่ 1 นอกจากนี้ยังใช้ได้ผลต่อเชื้อ Anaerobes เช่น Bacteroides fragillis ยากลุ่มนี้ใช้ไม่ได้ผลกับ Pseudomonas aeruginosa
เส้น 36 ⟶ 28:
 
 
'''Cephalosporin รุ่นที่ 3 (third generation) '''
 
มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกได้น้อยกว่า Cephalosporin รุ่นที่ 1 และ 2 แต่ใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบหลายชนิดรวมทั้งเชื้อ Pseudomonas aeruginosa และ Enterobacteriaceae
เส้น 42 ⟶ 34:
 
 
'''Cephalosporin รุ่นที่ 4 (fourth generation) '''
 
มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้กว้างขึ้นและได้ผลดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ Cephalosporin รุ่นที่ 3 และใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยา Cephalosporin รุ่นที่ 3
เส้น 88 ⟶ 80:
'''การดูดซึม'''
 
ยากลุ่ม Cephalosporins ส่วนใหญ่ให้โดยการฉีด (IV,IM) เนื่องจากไม่ทนกรดในกระเพาะอาหาร มีบางตัวที่สามารถทนกรดในกระเพาะอาหารได้ เช่น Cephalexin Cefadroxil Ceprozilและ Cefaclor จึงให้โดยการรับประทาน ซึ่งอาหารมีผลต่อการดูดซึมและระดับยาในเลือดของยาเหล่านี้ ยกเว้น Cefadroxil
 
 
เส้น 114 ⟶ 106:
== อาการไม่พึงประสงค์ ==
 
1. การแพ้ยา เช่น ผื่นคัน ลมพิษและanaphylaxis (พบน้อย) มักพบอาการแพ้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ยากลุ่ม Penicillins
 
2. ผลต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
เส้น 148 ⟶ 140:
3. เภสัชวิทยา 2, ภก. พยงค์ เทพอักษรและคณะ, บริษัท ประชุมช่าง จำกัด, 2544, หน้า 63-70
 
4. เภสัชวิทยา 2, คณาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, บริษัท นิวไทยมิตรการพิมพ์ (1996) จำกัด, 2541, หน้า 48-67
 
5. เภสัชวิทยา, คณาจารย์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, บริษัท โฮลิสติก พับลิชชิ่ง จำกัด, 2552, หน้า 547-550