ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลาแลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: en:Laterite rocks; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:Laterite quarry, Angadipuram, India. C 004.jpg|thumb|การตัดอิฐจากศิลาแลง ในประเทศอินเดีย]]
[[ไฟล์:K Laterite.JPG|thumb]]
'''ศิลาแลง''' หรือ '''แม่รัง''' เป็นวัสดุในธรรมชาติอย่างหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับหิน สีแดง ส้ม หรือน้ำตาลเข้ม มีรูพรุนทั่วไป นับเป็นวัสดุที่มีความสำคัญในการก่อสร้างในอดีต เนื่องจากมีความอ่อนนุ่มและมีความแข็งพอสมควร
บรรทัด 12:
== ประเภทของศิลาแลง ==
ในประเทศไทยพบศิลาแลง 2 แบบ คือ
# แบบที่เชื่อมยึดตัวแน่น เป็นแผ่นต่อเนื่องเป็นพืด เรียกว่า "ศิลาแลง" หรือ "แม่รัง" นิยมตัดเป็นแท่งคล้ายอิฐ นำไปสร้างสิ่งก่อสร้าง กำแพง ปูทางเดิน และ
# แบบที่เกาะตัวกันหลวมๆ ลักษณะร่วน เรียกว่า "ลูกรัง" นิยมใช้อัดพื้นถนน เพราะเมื่อมีการบดอัด และได้รับความชื้นจากน้ำแล้ว จะจับตัวแน่นดีกว่าดิน หรือทรายธรรมดา
 
บรรทัด 31:
[[da:Laterit]]
[[de:Laterit]]
[[en:Laterite rocks]]
[[eo:Laterito]]
[[es:Laterita]]