ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองสนามชัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
ลบ {{ต้องการอ้างอิง}}
บรรทัด 1:
'''คลองสนามชัย''' หรือ '''คลองมหาชัย''' เป็นคลองที่ขุดขึ้นในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระสรรเพชญที่ 8]]แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา|กรุงศรีอยุธยา]] แทนที่คลองโคกขามเดิม ซึ่งมีความคดเคี้ยวอย่างมาก เรียกคลองที่ขุดขึ้นใหม่นี้ว่า คลองพระพุทธเจ้าหลวง<ref>[http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/samutsakhon1.htm "สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5"]ทรัพยากรน้ำ ในจังหวัดสมุทรสาคร</ref> แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จก็ทรงสวรรคตไปก่อน ต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]ได้โปรดเกล้าให้พระราชสงครามเป็นนายกอง เกณฑ์คนจากหัวเมืองปักษ์ใต้มาขุดต่อ หัวเมืองปักษ์ใต้ในสมัยนั้น หมายถึงหัวเมืองที่อยู่ทางใต้ของกรุงศรีอยุธยา เช่น เมืองสาครบุรี สามโคก ราชบุรี <ref>[http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?t=43544"พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ(เจิม)(68/1 : 285"])</ref> ใช้เวลาอยู่ขุดสองเดือนจึงแล้วเสร็จ เรียกว่าคลองมหาชัย จุดเริ่มต้นของคลองอยู่ต่อจาก[[คลองด่าน]] ที่วัดหัวหมูบริเวณแยก[[คลองบางขุนเทียน]] ปัจจุบันคือในพื้นที่[[เขตจอมทอง]] [[กรุงเทพมหานคร]] แล้วไปออก[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่ อำเภอเมือง [[จังหวัดสมุทรสาคร]] ตัวคลองลึก 6 ศอก และกว้าง 7 วา จุดประสงค์เพื่อใช้ในการคมนาคมขนส่ง และการทำสงคราม และยังมีชาวต่างชาติที่จะใช้เส้นทางนี้ไปยังกรุงศรีอยุธยา ใช้เส้นทางนี้โดยไม่ต้องผ่านเข้าทาง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]อีกด้วย ผลสืบเนื่องที่สำคัญคือการบุกเบิกพื้นที่สองฝั่งคลองมาใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง นับเป็นผลงานสำคัญในรัชกาลนี้ นอกจากนั้นแล้ว ในปี [[พ.ศ. 2352]] คลองสายนี้เป็นเส้นทางที่[[สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]] ทรงใช้ยกทัพไปปราบ[[พม่า]]ที่เมือง[[ถลาง]]และเมือง[[ชุมพร]]อีกด้วย <ref>[http://www.yourhealthyguide.com/travel/tc-taladnam-watsai.html "เส้นทางสุขภาพ"]สถานที่ท่องเที่ยว ตลาดน้ำวัดไทร</ref> ปัจจุบันคลองสนามชัยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญใน[[กรุงเทพมหานคร]] และ[[จ.สมุทรสาคร]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''คลองสนามชัย''' หรือ '''คลองมหาชัย''' เป็นคลองที่ขุดขึ้นในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระสรรเพชญที่ 8]]แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา|กรุงศรีอยุธยา]] แทนที่คลองโคกขามเดิม ซึ่งมีความคดเคี้ยวอย่างมาก แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จก็ทรงสวรรคตไปก่อน ต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]ได้โปรดเกล้าให้พระราชสงครามเป็นนายกอง เกณฑ์คนจากหัวเมืองปักษ์ใต้มาขุดต่อ ใช้เวลาอยู่สองเดือนจึงแล้วเสร็จ เรียกว่าคลองมหาชัย เริ่มต้นจากคลองด่าน ที่วัดหัวหมู ปัจจุบันคือในพื้นที่[[เขตจอมทอง]] [[กรุงเทพมหานคร]] ไปออก[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่ อำเภอเมือง [[จังหวัดสมุทรสาคร]] ลึก 6 ศอก และกว้าง 7 วา จุดประสงค์เพื่อใช้ในการคมนาคมขนส่ง และการทำสงคราม และยังมีชาวต่างชาติที่จะไปยังกรุงศรีอยุธยา ใช้เส้นทางนี้โดยไม่ต้องผ่านเข้าทาง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]อีกด้วย ผลสืบเนื่องที่สำคัญคือการบุกเบิกพื้นที่สองฝั่งคลองมาใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง นับเป็นผลงานสำคัญในรัชกาลนี้
 
คลองมหาชัยนี้ยังเป็นที่มาของชื่อเรียกของ[[จังหวัดสมุทรสาคร]]ที่นิยมอีกด้วย เนื่องจากตัวเมืองตั้งอยู่ที่บริเวณปากคลองมหาชัยพอดี เอกสารในสมัย[<ref>[รัชกาลที่http://www.waiza.com/forum/index.php?topic=6315.0;prev_next=next"เที่ยวเมืองมหาชัยใกล้กรุงเทพฯ 5]วัดนางสาว-โบสถ์มหาอุตตม์หนึ่งในสยาม"]</ref> ในปัจจุบันนิยมเรียกชื่อคลองนี้ว่าคลองมหาไชยชลมารคมหาชัย แต่ในปัจจุบันมักนิยมในจ.สมุทรสาคร และเรียกคลองสนามชัย ในฝั่งธนบุรี โดยทั่วไปไม่ได้เจาะจงว่าบริเวณใดเป็นจุดเริ่มต้นคลองสนามชัย แต่จะถือกันว่าคลองสนามชัยและคลองด่านเป็นคลองเดียวกันในละแวกนั้น ในเขตจอมทองจึงเรียกคลองนี้ทั้งคลองสนามชัย และคลองด่าน
 
== อ้างอิง ==
<references/>
* [http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/samutsakhon1.htm ทรัพยากรน้ำ ในจังหวัดสมุทรสาคร]
 
[[หมวดหมู่:คลองในกรุงเทพมหานคร|สนามชัย]]
{{โครง}}