ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุ่นระเบิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: nn:Landmine
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Mines 501556 fh000026.jpg|thumb|right]]
 
'''ทุ่นระเบิด''' ({{lang-en|Land mine}}) มีหลักการทำงาน คือทำอุปกรณ์ตัวหนึ่งเป็นตัว[[กระตุ้น]] ให้เกิดการ[[ระเบิด]] ไม่ว่าจะเป็น [[เสียง]] [[แสง]] [[อุณหภูมิ]] [[แรงสั่นสะเทือน]] [[แรงกด]] [[ลวดสะดุด]] ที่นิยมกันมาก คือ เป็นตัวรับแรงกด (Pressure) ซึ่งจะเข้าไปกระทบกับ ตัวจุดระเบิด ทำให้เกิดระเบิดขึ้น ดินระเบิดที่นิยมใช้กันมากคือ [[ที่เอ็นที|TNT]] (Trinitrotoluene) ใช้ในการโจมตีผู้บุกรุก
 
ส่วนวิธีการระเบิด แล้วแต่วิธีออกแบบ เช่น ระเบิดทันทีที่โดน[[สัมผัส]] หรือ เมื่อได้รับแรงกระตุ้นแล้ว จะดีดตัวขึ้นมาเหนือพื้นดิน แล้วจึงระเบิด
 
== ประวัติ ==
การใช้ทุ่นระเบิดเกิดจากวิวัฒนาการของการใช้กับดัก เพื่อก่อให้เกิดความเสียหายต่อข้าศึก เช่น การใช้หลุมพราง บ่วงแร้ว ต่อมา เมื่อเทคโนโลยีได้พัฒนาขึ้น ได้มีการพัฒนาระบบกับดักให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทุ่นระเบิดก็เป็นผลของการพัฒนาอันหนึ่ง ซึ่งได้แตกออกตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น เพื่อใช้ทำความเสียหายต่อบุคคล ยานพาหนะทั้งทางบก ทางเรือ และทางอากาศ
 
ทุ่นระเบิดสมัยใหม่เริ่มได้มีการเริ่มใช้เมื่อประมาณปี ค.ศ.1277 โดยราชวงศ์ซ้องของจีน เพื่อต่อต้านการรุกราณของมองโกล ที่เริ่มรุกรานและยึดหัวเมืองทางตอนเหนือ และได้มีการพัฒนารูปแบบการใช้งานและ อานุภาพในการทำลายให้มากขึ้น
 
ในสงครามแต่ละที่ทุ่นระเบิดแต่ละประเภทหรือ แต่ละแบบถูกนำมาใช้ตามความเหมาะสม เช่นในสงครามเกาหลี ทุ่นระเบิดแบบสาย ถูกนำมาติดตั้งตามแนวป้องกัน เป็นเครือข่ายที่ซับซ้อนหลายชั้น แต่ใน สงครามเวียดนาม ทุ่นระเบิดแบบเคโม (Claymore) ซึ่งมีขนาดเล็กทำจากพลาสติก ภายในบรรจุระเบิดและแผ่นโลหะ สามารถกำหนดทิศทางได้ ระยะหวังผลอยู่ที่ 76 เมตร สามารถใช้ฝังลงไปดิน หรือ แขวนไว้กับต้นไม้ก็ได้
 
== ประเภทของทุ่นระเบิด ==
เส้น 16 ⟶ 23:
# โดยยานพาหนะ ที่ออกแบบมาเพื่อวางทุนระเบิด (Mine Layer)
# โดยการอุปกรณ์นำส่งระยะไกล (Remote Unit)
 
=== การใช้ทุ่นระเบิดในสงคราม ===
 
# ใช้เพื่อเป็นแนวป้องกัน เพื่อไม่ให้ข้าศึกเข้ามาในพื้นที่ ที่กำหนด โดยพื้นที่ที่ฝังทุ่นระเบิดเอาไว้จะถูกชึ้ให้เห็นชัดเจน ว่ามีบริเวณใด ตัวอย่างเช่น แนวชายแดน หรือ ส่วนหน้าของแนวรบที่เน้นการป้องกัน
# เพื่อทำลายกำลังรบของข้าศึก ส่วนมากจะติดตั้งไม่ให้ข้าศึกรู้ว่า การการติดตั้งในจุดนั้น เช่น ตามเส้นทางที่ข้าศึกใช้, พื้นที่ลาดตระเวนของข้าศึก
# ถ่วงเวลาในการเคลื่อนกำลังพลของข้าศึก เช่น ข้าศึกต้องเคลื่อนกำลังพลช้าลง ถ้ารู้ว่า บริเวณนั้น อาจมีทุ่นระเบิดฝังอยู่ หรือ การใช้ทุ่นระเบิดทำให้กำลังพลของข้าศึกได้รับบาดเจ็บ ทำให้ต้องเสียเวลาปฐมพยาบาลและ เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ
# เพื่อทำลายขวัญกำลังใจของข้าศึก
# เพื่อเหตุผลทางด้านยุทธศาสตร์ เช่น
##การใช้ทุ่นระเบิด แนวหลังของข้าศึกเพื่อถ่วงเวลา/ตัด การส่งกำลังบำรุง
##การบีบให้ข้าศึกต้องเลี่ยงจากพื้นที่ที่มีทุ่นระเบิดฝังอยู่ ไปยังพื้นที่หวังผลในการโจมตี(Killing Field)ของฝ่ายเรา
 
== การค้นหาและกู้คืน ==