ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บ่อเหล็กน้ำพี้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 05.jpg|thumb|150px|ภายในศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้ตั้งรูปเจ้าพ่อ 3 ตน เชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์รักษาเหล็กน้ำพี้มาตั้งแต่โบราณ]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''บ่อเหล็กน้ำพี้''' เป็นแหล่งสินแร่สิน[[เหล็ก|แร่เหล็ก]]ตามธรรมชาติ ตั้งอยู่ที่ บ้านน้ำพี้ หมู่ 1 ตำบลน้ำพี้ [[อำเภอทองแสนขัน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ประมาณ 56 [[กิโลเมตร]] โดยเป็นบ่อเหล็กกล้า<ref name="กรมทรัพยากรธรณี">[http://www.dmr.go.th/board/data/0029.html '''กรมทรัพยากรธรณี กระดานสนทนาความรู้ด้านธรณีวิทยา''']</ref> มีอยู่ด้วยกันหลายบ่อ และปรากฏเตาถลุงเหล็กโบราณนับพัน ๆ แห่งในพื้นที่หลายตารางกิโลเมตร แต่บ่อที่สำคัญและสงวนใช้สำหรับ[[พระมหากษัตริย์]] มีอยู่ 2 บ่อ คือ '''บ่อพระแสง''' และ '''บ่อพระขรรค์''' มีการนำแร่เหล็กจากบ่อเหล็กน้ำพี้ไปถลุงทำอาวุธเพื่อใช้ในการศึกสงครามมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังปรากฏหลักฐานทางประวัติศาตร์มากมายถึงความสำคัญของเหล็กน้ำพี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าเหล็กจากแหล่งแร่เหล็กน้ำพี้มีความแข็งแกร่งและมี ความศักดิ์สิทธิ์ มีและอาถรรพ์ในตัว โดยจัดให้เหล็กน้ำพี้อยู่ในโลหะธาตุตระกูลเดียวกับ' ''เหล็กไหล'''<ref>[http://human.uru.ac.th/Major/LIB1/Present_Report/pou11/p1.htm ประภาพร พูลสุข. รายงานฐานข้อมูลท้องถิ่นอุตสาหกรรมเหล็กน้ำพี้และแหล่งท่องเที่ยวบ่อเหล็กน้ำพี้ โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. อุตรดิตถ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์, ๒๕๕๐]</ref>
[[ภาพ:บ่อเหล็กน้ำพี้.jpg|250px|thumb|ป้ายพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อเหล็กน้ำพี้]]
'''บ่อเหล็กน้ำพี้''' เป็นแหล่งสินแร่[[เหล็ก]]ตามธรรมชาติ ตั้งอยู่ที่ บ้านน้ำพี้ หมู่ 1 ตำบลน้ำพี้ [[อำเภอทองแสนขัน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ประมาณ 56 [[กิโลเมตร]] โดยเป็นบ่อเหล็กกล้า<ref name="กรมทรัพยากรธรณี">[http://www.dmr.go.th/board/data/0029.html '''กรมทรัพยากรธรณี กระดานสนทนาความรู้ด้านธรณีวิทยา''']</ref>มีอยู่ด้วยกันหลายบ่อ และปรากฏเตาถลุงเหล็กโบราณนับพัน ๆ แห่งในพื้นที่หลายตารางกิโลเมตร แต่บ่อที่สำคัญและสงวนใช้สำหรับ[[พระมหากษัตริย์]]มีอยู่ 2 บ่อ คือ '''บ่อพระแสง''' และ '''บ่อพระขรรค์''' มีการนำแร่เหล็กจากบ่อเหล็กน้ำพี้ไปถลุงทำอาวุธเพื่อใช้ในการศึกสงครามมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังปรากฏหลักฐานทางประวัติศาตร์มากมายถึงความสำคัญของเหล็กน้ำพี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าเหล็กจากแหล่งแร่เหล็กน้ำพี้มีความแข็งแกร่งและมีความศักดิ์สิทธิ์ มีอาถรรพ์ในตัว โดยจัดให้เหล็กน้ำพี้อยู่ในโลหะธาตุตระกูลเดียวกับ'''เหล็กไหล'''<ref>[http://human.uru.ac.th/Major/LIB1/Present_Report/pou11/p1.htm ประภาพร พูลสุข. รายงานฐานข้อมูลท้องถิ่นอุตสาหกรรมเหล็กน้ำพี้และแหล่งท่องเที่ยวบ่อเหล็กน้ำพี้ โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. อุตรดิตถ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์, ๒๕๕๐]</ref>
 
ปัจจุบันบ่อเหล็กน้ำพี้ได้รับงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดสร้างอาคารและปรับภูมิทัศน์ โดยจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อเหล็กน้ำพี้ เปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ทุกวัน
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
== ประวัติ ==
=== ความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ===
[[ภาพ:ยุทธหัตถี.jpg|thumb|150px|left|ภาพแกะสลักนูนต่ำจำลองเหตุการณ์ยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวร ใช้พระแสงของ้าวฟันมังกะยอชะวา สิ้นพระชนม์]]
 
คำว่า '''น้ำพี้''' มีที่มาจากสาเหตุใดไม่ปรากฏชัด แต่เชื่อว่า ชื่อเดิมของบ้านน้ำพี้ คือ '''น้ำลี้''' เพราะ[[หมู่บ้าน]]แห่งนี้ในสมัยก่อนมีความแห้งแล้ง ''น้ำลี้ (หนีหาย)'' จึงเป็นชื่อที่ใช้เรียกหมู่บ้านนี้สืบมา และต่อมาจึงได้เพี้ยนเป็น "น้ำพี้" จนปัจจุบัน
แร่เหล็กจาก '''บ่อเหล็กน้ำพี้''' มีลักษณะพิเศษที่โดดเด่นมาเป็นระยะเวลานาน นับแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]
จวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักฐานอ้างอิงจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ จดหมายเหตุ และวรรณคดี
ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บรรพบุรุษของ[[ไทย]]ในอดีตได้รู้จักวิธีการนำแร่เหล็กน้ำพี้ มาถลุงให้เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำแร่เหล็กน้ำพี้มาถลุงเป็นศาสตราวุธ เพื่อใช้ประโยชน์ในการสงคราม ดังปรากฏหลักฐานการนำเหล็กน้ำพี้มาใช้เป็นศาสตราวุธสำหรับการทหารและชนชั้นปกครอง เช่น
 
อีกเหตุผลหนึ่ง มีคำบอกเล่าที่สืบต่อกันมาจนเป็นตำนานของชาวหมู่บ้านน้ำพี้ ว่าใน[[สมัยสุโขทัย]] [[พระร่วง]]เจ้าได้เสด็จมายังหมู่บ้านแห่งนี้เพื่อขอด้ายไปทำสายป่าน[[ว่าว]] (แต่บางคนก็เล่าว่า พระร่วงขอด้ายเอาไปมัดไก่ เพื่อต่อไก่ชนที่[[อำเภอทองแสนขัน|หมู่บ้านแสนขัน]] ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ๆ กัน) โดยขณะที่พระร่วงกำลังรอด้ายนั้น ชาวบ้านก็รีบจัดหาให้ แต่ช้าไม่ทันใจ พระร่วงจึงเกิดความไม่พอใจ และคิดว่าหมู่บ้านนี้เป็นหมู่บ้านแล้งน้ำใจ จึงได้สาปให้หมู่บ้านนี้มีน้ำแห้งแล้ง หรือเรียกว่า '''"น้ำลี้"''' ซึ่งแปลว่า [[น้ำ]]หนีหายไปหมด ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนเป็น '''"น้ำพี้"''' มาจนปัจจุบัน<ref>[http://www.geocities.com/tim2140875/lgnp.htm '''ตำนานการเรียกชื่อหมู่บ้านน้ำพี้ ''' โรงเรียนบ้านน้ำพี้มิตรภาพที่ 214]</ref>
* '''พระแสงของ้าว''' ของ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] ทรงใช้กระทำ[[ยุทธหัตถี]] กับ[[มังกะยอชะวา|พระมหาอุปราชา]]
* '''ดาบนันทกาวุธ''' ของ[[พระยาพิชัยดาบหัก]]
* '''ดาบล้างอาถรรพ์''' ของ[[พระนารายณ์มหาราช]]
* '''ดาบฟ้าฟื้น''' ของ[[ขุนแผน]] มีส่วนผสมของเหล็กน้ำพี้
 
== ประวัติ ==
ในสมัยรัตนโกสินทร์มีหลักฐานว่า ในวโรกาสที่[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ '''หลวงจรุงราษฎร์เจริญ (สุข) ''' นาย[[อำเภอตรอน]] ในสมัยนั้น ได้นำเหล็กน้ำพี้มอบให้ '''พระยาวิเศษฤๅไชย''' ข้าหลวงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ([[พ.ศ. 2469]]-[[พ.ศ. 2471]]) นำพระแสงดาบขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเป็น [[พระแสงศาสตราวุธ]] มาจนทุกวันนี้ <ref>[http://xchange.teenee.com/index.php?showtopic=23342 ตำนานเหล็กน้ำพี้]</ref>
 
แร่เหล็กจาก '''บ่อเหล็กน้ำพี้''' มีลักษณะพิเศษที่โดดเด่นมาเป็นระยะเวลานาน นับแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]จวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักฐานอ้างอิงจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ จดหมายเหตุ และวรรณคดี ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บรรพบุรุษของ[[ไทย]]ในอดีตได้รู้จักวิธีการนำแร่เหล็กน้ำพี้ มาถลุงให้เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำแร่เหล็กน้ำพี้มาถลุงเป็นศาสตราวุธ เพื่อใช้ประโยชน์ในการสงคราม ดังปรากฏหลักฐานการนำเหล็กน้ำพี้มาใช้เป็นศาสตราวุธสำหรับการทหารและชนชั้นปกครอง เช่น
=== ความเป็นมาของชื่อ "น้ำพี้" ===
 
* '''พระแสงของ้าว''' ของ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] ทรงใช้กระทำ[[ยุทธหัตถี]] กับ[[มังกะยอชะวา|พระมหาอุปราชา]]
คำว่า '''น้ำพี้''' มีที่มาจากสาเหตุใดไม่ปรากฏชัด แต่เชื่อว่า ชื่อเดิมของบ้านน้ำพี้ คือ '''น้ำลี้''' เพราะ[[หมู่บ้าน]]แห่งนี้ในสมัยก่อนมีความแห้งแล้ง ''น้ำลี้(หนีหาย)'' จึงเป็นชื่อที่ใช้เรียกหมู่บ้านนี้สืบมา และต่อมาจึงได้เพี้ยนเป็น "น้ำพี้" จนปัจจุบัน
* '''ดาบนันทกาวุธ''' ของ[[พระยาพิชัยดาบหัก]]
* '''ดาบล้างอาถรรพ์''' ของ[[พระนารายณ์มหาราช]]
* '''ดาบฟ้าฟื้น''' ของ[[ขุนแผน]] มีส่วนผสมของเหล็กน้ำพี้
 
ในสมัยรัตนโกสินทร์มีหลักฐานว่า ในวโรกาสที่[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ '''หลวงจรุงราษฎร์เจริญ (สุข) ''' นาย[[อำเภอตรอน]] ในสมัยนั้น ได้นำเหล็กน้ำพี้มอบให้ '''พระยาวิเศษฤๅไชย''' ข้าหลวงประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ([[พ.ศ. 2469]]-[[พ.ศ. 2471|2471]]) นำพระแสงดาบขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเป็น [[พระแสงศาสตราวุธ]] มาจนทุกวันนี้ <ref>[http://xchange.teenee.com/index.php?showtopic=23342 ตำนานเหล็กน้ำพี้]</ref>
อีกเหตุผลหนึ่ง มีคำบอกเล่าที่สืบต่อกันมาจนเป็นตำนานของชาวหมู่บ้านน้ำพี้ ว่าใน[[สมัยสุโขทัย]] [[พระร่วง]]เจ้าได้เสด็จมายังหมู่บ้านแห่งนี้เพื่อขอด้ายไปทำสายป่าน[[ว่าว]] (แต่บางคนก็เล่าว่า พระร่วงขอด้ายเอาไปมัดไก่ เพื่อต่อไก่ชนที่[[อำเภอทองแสนขัน|หมู่บ้านแสนขัน]] ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ๆ กัน) โดยขณะที่พระร่วงกำลังรอด้ายนั้น ชาวบ้านก็รีบจัดหาให้ แต่ช้าไม่ทันใจ พระร่วงจึงเกิดความไม่พอใจ และคิดว่าหมู่บ้านนี้เป็นหมู่บ้านแล้งน้ำใจ จึงได้สาปให้หมู่บ้านนี้มีน้ำแห้งแล้ง หรือเรียกว่า '''"น้ำลี้"''' ซึ่งแปลว่า [[น้ำ]]หนีหายไปหมด ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนเป็น '''"น้ำพี้"''' มาจนปัจจุบัน<ref>[http://www.geocities.com/tim2140875/lgnp.htm '''ตำนานการเรียกชื่อหมู่บ้านน้ำพี้ ''' โรงเรียนบ้านน้ำพี้มิตรภาพที่ 214]</ref>
 
== เหล็กน้ำพี้ ==
=== ความเชื่อเรื่องอำนาจศักดิ์สิทธิ์ของเหล็กน้ำพี้ ===
[[ภาพ:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 05.jpg|thumb|150px|ภายในศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้ตั้งรูปเจ้าพ่อ ๓ ตน เชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์รักษาเหล็กน้ำพี้มาตั้งแต่โบราณ]]
 
เหล็กจากแหล่งแร่ '''บ่อเหล็กน้ำพี้''' เป็นเหล็กที่มีความแกร่ง มีความเหนียวและเกิด[[สนิม]]ยาก จาก[[ตำราพิชัยสงคราม]]ได้กล่าวไว้ว่า เหล็กน้ำพี้ เป็นโลหะมหัศจรรย์อานุภาพ มีพลังในตัว มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์สถิตอยู่ทุก ๆ อณูสามารถป้องกันคุณไสยและสิ่งเลวร้ายที่มองไม่เห็นด้วยตาดำได้ ปัจจุบันแร่เหล็กน้ำพี้ ถือว่าเป็น[[วัตถุมงคล]]อันเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่มีไว้ครอบครองเป็นอย่างยิ่ง โดยเชื่อกันมาแต่โบราณว่าเหล็กน้ำพี้อยู่ในตระกูลเดียวกันกับเหล็กไหล เมื่อจะนำไปใช้งานต้องตั้งศาลบวงสรวงขออนุญาตจากเจ้าพ่อที่ดูแลปกปักษ์รักษาเสียก่อน จึงจะทำการขุดหรือตัดเหล็กไปใช้งานได้
 
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ชาวน้ำพี้และผู้ศรัทธาต่างเชื่อถือกันมาโดยตลอดด้วยความศรัทธาว่า เหล็กน้ำพี้มีเจ้าพ่อปกปักษ์รักษาดูแลอยู่ หากผู้ใดจักนำสินแร่เหล็กน้ำพี้ไปใช้ ต้องทำการตั้งศาลบรวงสรวงสักการะและเปล่งวาจาขอต่ออำนาจศักดิ์สิทธิ์ก่อน ซึ่งนับว่าเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยในการปลูกฝังจิตสำนึกในการรู้จักเคารพต่อธรรมชาติและให้รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างน้อยนิดอย่างรู้คุณค่า{{อ้างอิง}}
 
=== คุณสมบัติพิเศษของเหล็กน้ำพี้ทางวิทยาศาสตร์ ===
[[ภาพ:เหล็กน้ำพี้.jpg|150px|left|thumb|แร่เหล็กน้ำพี้]]
 
[[ภาพไฟล์:บ่อเหล็กน้ำพี้.jpg|250150px|left|thumb|ป้ายพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อแร่เหล็กน้ำพี้]]
แร่เหล็กที่ได้จากบ่อเหล็กน้ำพี้นั้น เป็นแร่[[เหล็กกล้า]][[คาร์บอน]]ที่มีโครงสร้างระดับโมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนหลากหลาย ทำให้เมื่อนำมาเผาและตีทำมีดจะได้มีดที่แข็งแกร่งทนทานกว่าที่ทำจากแร่เหล็กทั่วๆไป<ref name="กรมทรัพยากรธรณี"/>
 
แร่เหล็กที่ได้จากบ่อเหล็กน้ำพี้นั้น เป็นแร่[[เหล็กกล้า]][[คาร์บอน]]ที่มีโครงสร้างระดับโมเลกุลที่ประกอบด้วย[[คาร์บอน|ธาตุคาร์บอน]]หลากหลาย ทำให้เมื่อนำมาเผาและตีทำมีดจะได้มีดที่แข็งแกร่งทนทานกว่าที่ทำจากแร่เหล็กทั่วๆทั่ว ๆ ไป<ref name="กรมทรัพยากรธรณี"/>
[[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย [[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]] และกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ได้เคยนำตัวอย่างสินแร่จากจากบ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ไปทำการทดลองเพื่อวิเคราะห์หาคุณสมบัติต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ พบว่าแร่เหล็กน้ำพี้มีองค์ประกอบของแร่ธาตุที่หาได้ยาก เป็นแร่เหล็กที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัว มีความแข็งและเหนียวเป็นพิเศษ มีคุณลักษณะอ่อนในแข็งนอก และยืนยันว่าแหล่งแร่เหล็กที่ตำบลน้ำพี้ [[อำเภอทองแสนขัน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] เป็นแหล่งแร่เหล็กที่มีคุณภาพดีที่สุดของประเทศไทย อีกทั้งยังมีคุณสมบัติดีเยี่ยมไม่แพ้เหล็กกล้าชั้นดีของประเทศต่างๆ ซึ่งนับว่าเป็นการยืนยันถึงภูมิปัญญาอันล้ำเลิศของบรรพบุรุษไทยได้เป็นอย่างดี
 
[[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย [[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]] และกรมวิทยาศาสตร์ทหารบก ได้เคยนำตัวอย่างสินแร่จากจากบ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ไปทำการทดลองเพื่อวิเคราะห์หาคุณสมบัติต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ พบว่าแร่เหล็กน้ำพี้มีองค์ประกอบของแร่ธาตุที่หาได้ยาก เป็นแร่เหล็กที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัว มีความแข็งและเหนียวเป็นพิเศษ มีคุณลักษณะอ่อนในแข็งนอก และยืนยันว่าแหล่งแร่เหล็กที่ตำบลน้ำพี้ [[อำเภอทองแสนขัน]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] เป็นแหล่งแร่เหล็กที่มีคุณภาพดีที่สุดของประเทศไทย อีกทั้งยังมีคุณสมบัติดีเยี่ยมไม่แพ้เหล็กกล้าชั้นดีของต่างประเทศต่างๆ{{อ้างอิง}} ซึ่งนับว่าเป็นการยืนยันถึงภูมิปัญญาอันล้ำเลิศของบรรพบุรุษไทยได้เป็นอย่างดี
 
== สถานที่ท่องเที่ยวบริเวณบ่อเหล็กน้ำพี้ ==
=== บ่อพระแสง-บ่อพระขรรค์ ===
[[ภาพ:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 03.jpg|150px|thumb|บ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ '' (บ่อแรกคือบ่อพระแสง บ่อถัดไปคือบ่อพระขรรค์) '']]
 
[[ภาพไฟล์:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 03.jpg|150px|thumb|บ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ '' (บ่อแรกคือ) บ่อพระแสง และ (บ่อถัดไปคือ) บ่อพระขรรค์) '']]
'''บ่อพระแสง''' เป็นบ่อดินขนาดใหญ่ ลึก 10 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20 เมตร เป็นบ่อที่มีคุณภาพของสินแร่ดีกว่าบ่ออื่นๆ ในบริเวณแหล่งแร่น้ำพี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ่อนี้สงวนไว้สำหรับทำพระแสงดาบถวายสำหรับพระมหากษัตริย์เท่านั้น จึงได้ชื่อว่า "บ่อพระแสง"
 
* '''บ่อพระขรรค์แสง''' เป็นบ่อดินขนาดย่อมกว่าบ่อพระแสงใหญ่ มีความลึกประมาณ 710 เมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1220 เมตร บรรพบุรุษได้สงวนเป็นบ่อนี้ไว้เพื่อนำเอาเหล็กจากที่มีคุณภาพของสินแร่ดีกว่าบ่ออื่นๆ ในบริเวณแหล่งแร่น้ำพี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ่อนี้ไปถลุงสงวนไว้สำหรับทำพระขรรค์แสงดาบถวายสำหรับพระมหากษัตริย์เท่านั้น จึงเรียกกันมาแต่โบราได้ชื่อว่า "บ่อพระขรรค์แสง"
 
* '''บ่อพระขรรค์''' เป็นบ่อดินขนาดย่อมกว่าบ่อพระแสง มีความลึกประมาณ 7 เมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12 เมตร บรรพบุรุษได้สงวนบ่อนี้ไว้เพื่อนำเอาเหล็กจากบ่อนี้ไปถลุงทำพระขรรค์ถวายพระมหากษัตริย์เท่านั้น จึงเรียกกันมาแต่โบราว่า "บ่อพระขรรค์"
 
บ่อขุดสินแร่เหล็กทั้งสองบ่อนี้ เป็นบ่อเหล็กที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในบริเวณแหล่งแร่เหล็กน้ำพี้ และเชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ที่สุด และเป็นบ่อเหล็กที่มีคุณภาพดีที่สุดในประเทศไทย
 
=== พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อเหล็กน้ำพี้ ===
[[ภาพ:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 20.jpg|thumb|left|150px|หุ่นจำลองแสดงวิธีการถลุงเหล็กแบบโบราณ]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2541]] นายชัยพร รัตนนาคะ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ ''(ในสมัยนั้น)'' ได้เห็นว่า บ่อเหล็กน้ำพี้เป็นแหล่งแร่เหล็กทางธรรมชาติที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติ และเป็นสถานที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่งของจังหวัดอุตรดิตถ์ ควรส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาประวัติศาสตร์สำหรับผู้สนใจ จึงได้อนุมัติงบประมาณเพื่อจัดสร้างพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อเหล็กน้ำพี้ โดยทำการเปิดเมื่อ วันที่ [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2542]] โดยทำการบูรณะปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบบริเวณบ่อเหล็กน้ำพี้ และได้จัดสร้างพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านบ่อเหล็กน้ำพี้ สำหรับนักท่องเที่ยวและผู้สนใจได้เข้าศึกษาถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านแบบโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้มีการจัดแสดงเครื่องมือเครื่องใช้โบราณและจัดแสดงหุ่นการถลุงเหล็กแบบโบราณตั้งแต่เริ่มขุดหาแร่เหล็กจนถึงการถลุงจนได้เหล็กน้ำพี้ที่นำมาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งนับว่าเป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยที่น่าสนใจและให้ความรู้ด้านการถลุงเหล็กแบบโบราณได้อย่างดียิ่ง<ref>[http://www.ounamilit.com/b18_nhumpi.htm '''บ่อเหล็กน้ำพี้แห่งเมืองพระยาพิชัย'''.นิตยสารอุณมิลิต ฉบับที่ ๑๘ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๗]</ref>
 
=== ศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้ ===
 
[[ภาพไฟล์:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 01.jpg|thumb|150px|ศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้]]
 
บริเวณทิศเหนือของบ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ มีศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้ตั้งอยู่ ซึ่งมีเรื่องเล่าเป็นตำนานของชาวน้ำพี้สืบมาว่าบ่อเหล็กน้ำพี้ มีปู่ธรรมราชที่เป็นเจ้าพ่อบ่อพระแสงสถิตย์อยู่ในศาลนี้เพื่อคอยปกปักษ์รักษาบ่อเหล็กสำคัญคือบ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์
เส้น 65 ⟶ 60:
 
=== การอนุรักษ์การตีดาบโลหะน้ำพี้แบบโบราณ ===
[[ภาพไฟล์:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 21.jpg|thumb|150px|การตีขึ้นรูปดาบเหล็กน้ำพี้แบบโบราณ]]
ปัจจุบันชาวบ้านน้ำพี้ยังคงสืบทอดวิธีการถลุงเหล็กและการตีขึ้นรูปดาบเหล็กน้ำพี้มาแต่โบราณ ดังปรากฏเตาถลุงเหล็กน้ำพี้ของชาวบ้านกระจายอยู่ทั่วไป แต่แหล่งที่เป็นที่ถลุงแร่และตีดาบที่สำคัญจะอยู่บริเวณทางไปบ่อเหล็กน้ำพี้ ซึ่งจะสามารถพบเห็นการตีดาบน้ำพี้แบบโบราณได้ตลอดเส้นทาง ซึ่งผู้สนใจสามารถเยี่ยมชมได้อย่างใกล้ชิด เป็นการเรียนรู้จากต้นแหล่งภูมิปัญญามรดกไทยที่ยังมีชีวิตอยู่จนถึงปัจจุบัน
 
=== ของที่ระลึกบ้านน้ำพี้ ===
[[ภาพ:Bo Lek Nam Phi (Nam Pi iron mines) 23.jpg|thumb|left|150px|ของที่ระลึกในร้านค้าวิสาหกิจชุมชนของตำบลน้ำพี้]]
 
ในปัจจุบันชาวบ้านน้ำพี้ส่วนใหญ่ยึดอาชีพเกษตรกรรมและหารายได้เสริมจากการทำของที่ระลึกจากเหล็กน้ำพี้ เช่นการทำดาบเหล็กน้ำพี้, การทำสายสร้อยลูกประคำแร่เหล็กน้ำพี้, การทำพระเครื่องจากแร่เหล็กน้ำพี้ ซึ่งนับว่าเป็นแหล่งทำของที่ระลึกประจำจังหวัดที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยสินค้าที่ระลึกจากบ้านน้ำพี้ได้รับรางวัลสินค้า [[OTOP]] คุณภาพ ๔ ดาว ซึ่งเป็นเครื่องรับรองถึงคุณภาพสินค้าของบ้านน้ำพี้ได้อย่างดี
 
เนื่องจากปัจจุบันแร่เหล็กน้ำพี้หายากและมีราคาต่อกิโลกรัมกว่าพันบาทขึ้นไป ชาวบ้านน้ำพี้ส่วนใหญ่จึงนำเหล็กน้ำพี้มาทุบเป็นผงและผสมกับดินข้างบ่อเหล็กน้ำพี้เพื่อนำมาทำเป็นวัตถุมงคลของที่ระลึก โดยนิยมนำมาทำเป็นสร้อยประคำหรือพระผงออกจำหน่ายด้วย
 
ผู้สนใจสามารถซื้อสินค้าเหล่านี้ได้จากร้านค้าวิสาหกิจชุมชนที่ตั้งอยู่บริเวณบ่อเหล็กน้ำพี้ หรือจะไปศึกษาการทำดาบแบบโบราณและหาซื้อจากชาวบ้านโดยตรงก็สามารถทำได้ โดยจะสามารถหาซื้อได้ในราคาที่ถูกกว่าที่มีจำหน่ายในร้านค้าวิสาหกิจชุมชนที่ตั้งอยู่บริเวณบ่อเหล็กน้ำพี้ <ref>เทวประภาส มากคล้าย เปรียญ.. เอกสาร : ''เอกสารแนะนำวัดคุ้งตะเภา-แหล่งท่องเที่ยวในคำขวัญจังหวัดอุตรดิตถ์'' . [[อุตรดิตถ์]] : [[วัดคุ้งตะเภา]], ๒๕๔๙. </ref>
 
== อ้างอิง ==