ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบส่งกำลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Channelturbo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:Epicyclic gear ratios.png|thumb|เกียร์]]
[[ภาพไฟล์:Shimano xt rear derailleur.jpg|right|150px|thumb|กลองเกียร์ของจักรยาน]]
 
'''ระบบส่งกำลัง''' ({{lang-en|Transmission}}) คือ [[การได้เปรียบเชิงกล|อัตราส่วนของผลคูณที่มีความแรงของเฟือง]] เฟืองจะมีการสับเปลียนเฟือง โดยการเปลี่ยนเกียร์ ตำ ต่ำและ สูง ส่วน เกียร์ ตำ ต่ำจะมีจะเป็นเฟืองใหญ่และหมุน[[เร็ว]]กว่า จะทำให้มีอัตตราเร่งมากกว่า แต่[[ความเร็ว]]จะน้อยกว่า จนต้องเปลี่ยนไปเกียร์ระดับกลางจะ ซึ่งมีเฟืองระดับกลาง แต่ความเร็วมากขึ้นส่วนไปเกียร์ระดับสูง เป็นเฟืองขนาดเล็กแต่จะหมุนช้ากว่าเฟืองใหญ่แต่เฟืองเล็กหรือเกียร์สูงจะให้ความเร็วที่สูดแต่อัตตราเร่งจะน้อยกว่าแต่เกียร์สูงจะต้องใช้พลังงานสูงจากการหมุนอย่างมาก จนต้องมีการเปลี่ยนเกียร์เพื่อควบคุมความเร็วของรถได้ ระบบส่งกำลังจะมีอัตราทดของการส่งกำลังมีความจำเป็นต่อการออกแบบให้ชิ้นงานเคลื่อนที่ได้ตามความต้องการ เกียร์มีสองประเภท คือ เกียร์อัตโนมัติ และ เกียร์มือ หรือ เกียร์ธรรมดา<ref>http://www.nayoktech.ac.th/~auto/auto_web/tanat_v_chatree/New%20Folder/job%201.htm</ref>
 
เกียร์มือ หรือ เกียร์ธรรมดา เป็นเกียร์ ที่ต้องเข้าเกียร์โดยเปลี่ยนเกียร์โดยตัวผู้ใช้เอง โดยจะเปลี่ยนเกียร์และจะต้องหยาบคลัชแล้วเปลี่ยนเกียร์ตาม เกียร์จะมีเกียร์ว่าง เกียร์ถอยหลัง และ เกียร์เดินหน้า จะมีเกียร์ตำ และ สูง จนถึง เกียร์ 1 ถึง เกียร์ 5
 
เกียร์ออโต้ หรือ เกียร์อัตโนมัติ เป็นเกียร์ที่ไม่มีคลัชให้หยาบ เป็นเกียร์ที่สามารถเปลี่ยนเองได้อัตโนมัติ ตาม[[ความเร็ว]]ของรถ เกียร์จะมีเกียร์ว่าง เกียร์ถอยหลัง และ เกียร์เดินหน้า โดย เกียร์เดินหน้าจะเปลี่ยนเกียร์ได้ตั้งแต่รอบของเครื่องยนต์ จะมีตั้งแต่เปลี่ยนเกียร์ถัดไป โดยจะเลือกเข้าเกียร์แบบเปลี่ยนเกียร์เองได้อัตโนมัติในรอบตำ และ เกียร์เปลี่ยนเองได้อัตโนมัติในรอบสูง <ref>http://www.dvtani.gov.uk/practicaldrivingtest/carfaqs.asp#15</ref>
 
 
== อ้างอิง ==