ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชาศัพท์ (ภาษาไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10:
[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์|'''พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์''']] [[ราชบัณฑิต]] มีพระปาฐกถาเรื่อง "กถาเรื่องภาษา" ว่า "...นอกจากคำพูดและวิธีพูดทั่วไปแล้ว ยังมีคำพูดและวิธีพูดสำหรับชนเฉพาะหมู่เฉพาะเหล่าอีกด้วย เช่น ราชาศัพท์ของเรา เป็นต้น ฝรั่งไม่มีราชาศัพท์เป็นคำตายตัว แต่มีวิธีพูดยกย่องชั้นพระมหากษัตริย์หรือชั้นผู้ดีเหมือนกัน แต่วิธีพูดเช่นนี้ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว โดยมากมักจะเป็นวิธีพูดอย่างสุภาพเท่านั้นเอง"<ref>คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทำหนังสือ "ราชาศัพท์". (2545) '''ราชาศัพท์.''' (พิมพ์ครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดโรงพิมพ์ชวนพิมพ์. หน้า 3.</ref>
 
== ตัวอย่างคำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิด ==
 
* ทรง : คำว่า ทรง โดยปกติจะนำหน้า กริยาที่เป็นคำสามัญ เช่น ทรงสร้าง, ทรงซ่อมแซม, ทรงบูชา.. แต่ไม่ใช่ ทรง นำหน้าคำราชาศัพท์อื่น เช่น ทรงเสด็จ, ทรงพระราชทาน, ทรงสวรรคต, ทรงทอดพระเนตร ฯลฯ เหล่านี้ใช้ไม่ได้
* พระราชเสาวนีย์ : คำนี้หมายถึง คำสั่ง:''<br>ข้างต้นนี้เป็นตัวอย่างเบื้องต้นเท่านั้น ควรตรวจสอบหรือแนะนำเพิ่มเติมสำหรับ "รายการคำราชาศัพท์" ดูเพิ่มที่ [[:wikt:รายการคำราชาศัพท์|วิกิพจนานุกรม - รายการคำราชาศัพท์ ในวิกิพจนานุกรม]] ''
 
== คำสุภาพ ==