ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พหุนิยมทางการเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''แนวคิดพหุนิยมทางการเมือง''' ({{lang-en|Political pluralism}}) เป็นการรับรองโดยสาม…
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''แนวคิดพหุนิยมทางการเมือง''' ({{lang-en|Political pluralism}}) เป็นการรับรองโดยสามัญสำนึกว่ามีสิ่งที่ในสังคมจะต้องมีความแตกต่างกัน ซึ่งแนวคิดดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้ในวงกว้าง ในทาง[[การเมือง]] แนวคิดพหุนิยมได้รับการพิจารณาว่าเป็นตัวแสดงของประชาธิปไตยสมัยใหม่ เพื่อผลประโยชน์ของพลเมือง แนวคิดพหุนิยมยังได้ใช้เป็นเครื่องหมายแสดงถึงจุดยืนในทางทฤษฎีของรัฐและอำนาจ ซึ่งได้มีผู้เสนอว่าแนวคิดดังกล่าวเป็นรูปแบบอันเหมาะสมในการกระจายอำนาจในสังคม
 
ในระบอบ[[ประชาธิปไตย]] แนวคิดพหุนิยมเป็นแนวทางชี้นำเพื่อก่อให้เกิดความสงบสุขบนความขัดแย้งของผลประโยชน์ ความเชื่อและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกัน ซึ่งทำให้แนวคิดพหุนิยมแตกต่างจากแนวคิด[[รวมเข้าสู่ศูนย์กลาง]] เพราะแนวคิดพหุนิยมเชื่อว่า สมาชิกในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยมีการเจรจาอย่างสันติ
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[เสรีประชาธิปไตย]]
 
== อ้างอิง ==
 
* William James. (1909). ''A Pluralistic Universe''
* Stuart Hampshire. (1983). ''Morality and Conflict''
* Charles Blattberg. (2000). ''From Pluralist to Patriotic Politics''
* Isaiah Berlin. (2002). ''Liberty''
* Bernard Williams. (2005). ''In the Beginning Was the Deed''
* James W. Skillen. (2006). ''In Pursuit of Justice''
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
*[http://www.pluralism.ca Global Centre for Pluralism]
*[http://www.pluralism.org/ The Pluralism Project at Harvard University]
 
{{โครงการเมือง}}