ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุทธิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{พุทธศาสนา}}
'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด
 
ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] มีการกล่าวถึง '''วิสุทธิ 7''' ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] ซึ่งหมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการทำให้บริสุทธิ์ ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่า[[ไตรสิกขา]] ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือ[[นิพพาน]] มี 7 ขั้น คือ
*'''ศีลวิสุทธิ''' หรือ ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้อง ตั้งใจรักษา ทำให้สามารถปฏิบัติ [[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br>ใน[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]] ได้กล่าวถึง [[ปาริสุทธิศีล]] 4 ใน[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]]ซึ่งหมายถึง ความประพฤติบริสุทธิ์ที่จัดเป็นศีล มีสี่ข้อ ได้แก่
 
#''ปาฏิโมกขสังวรศีล'' หมายถึง ศีลคือความสำรวมในพระ[[ปาฏิโมกข์]] เว้นจากข้อห้าม และทำตามข้ออนุญาต ตลอดจนประพฤติเคร่งครัดใน[[สิกขาบท]] (คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ใน[[พระไตรปิฎก]]นั่นเอง ในส่วนของพระภิกษุ ได้แก่ พระปาติโมกข์ และข้อวัตรที่แสนจะเรียบร้อย ดังปรากฏใน[[พระวินัยปิฎก]], ในส่วนของ[[ฆราวาส]] ได้แก่ [[ศีลห้า]] [[ศีลแปด]] เป็นต้นและมารยาทต่างๆ เช่น พูดไพเราะอ่อนหวาน เป็นต้นนั่นเอง.)
วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ
#''อินทรียสังวรศีล'' หมายถึง ศีลคือความสำรวม[[อินทรีย์]]6 ระวังไม่ให้[[บาป]][[อกุศลธรรม]]เกิดขึ้นได้ เมื่อในขณะที่รับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น ระวังไม่ให้โกรธ นี้ก็จัดเป็นขั้นศีล.
*'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้องตั้งใจรักษา ทำให้สามารถปฏิบัติ [[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br>[[ปาริสุทธิศีล]] 4 ใน[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]] ได้แก่
#''อาชีวปาริสุทธิศีล'' หมายถึง ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีพในทางที่ชอบธรรม
#''ปาฏิโมกขสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวมในพระ[[ปาฏิโมกข์]] เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดใน[[สิกขาบท]] คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ใน[[พระไตรปิฎก]]นั่นเอง ในส่วนของพระภิกษุ ได้แก่ พระปาติโมกข์ และข้อวัตรที่แสนจะเรียบร้อย ดังปรากฏใน[[พระวินัยปิฎก]], ในส่วนของ[[ฆราวาส]] ได้แก่ [[ศีลห้า]] [[ศีลแปด]] เป็นต้นและมารยาทต่างๆ เช่น พูดไพเราะอ่อนหวาน เป็นต้นนั่นเอง.
#''ปัจจัยสันนิสิตศีล'' หมายถึง ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอย[[ปัจจัย]] ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วย[[ตัณหา]] คือเช่น ไม่ใช่ว่าบริโภคด้วยความอยากกินก็เลยกินรับประทาน ไม่บริโภคด้วยความอยากอยากใช้ก็เลยใช้นั่นเองสอย
#''อินทรียสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวม[[อินทรีย์]]6 ระวังไม่ให้[[บาป]][[อกุศลธรรม]]เกิดขึ้นได้ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น ระวังไม่ให้โกรธ นี้ก็จัดเป็นขั้นศีล.
*'''จิตตวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่ง[[จิต]] คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิ ให้ได้[[อุปจาระสมาธิ]]และ[[อัปปนาสมาธิ]] ได้[[ฌาน]] ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิด[[วิปัสสนา]]ขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
#''อาชีวปาริสุทธิศีล'' ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ของพระได้แก่สิกขาบท 6 ข้อ(ที่ท่านระบุไว้ใน[[คัมภีร์ปริวาร]]), ของฆราวาสก็ได้แก่อาชีพที่ไม่ผิดศีล เช่น ไม่ทำอาชีพเพชฌฆาตฆ่าคน เป็นต้น.
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]] คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็น[[นามรูป]]ตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
#''ปัจจัยสันนิสิตศีล'' ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอย[[ปัจจัย]] ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วย[[ตัณหา]] คือ ไม่ใช่ว่าอยากกินก็เลยกิน อยากใช้ก็เลยใช้นั่นเอง
*'''กังขาวิตรณวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่ง[[ญาณ]]เป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]] คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิ ให้ได้[[อุปจาระสมาธิ]]และ[[อัปปนาสมาธิ]] ได้[[ฌาน]] ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิด[[วิปัสสนา]]ขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
*'''มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]] คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็น[[นามรูป]]ตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
*'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน ([[ญาณ|วิปัสสนาญาณ 9]])
*'''กังขาวิตรณวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ญาณ]]เป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย
*'''ญาณทัสสนวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คือ ความรู้ใน[[มรรค|อริยมรรค]] หรือมรรคญาณ ความเป็น[[อริยบุคคล]] ย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้ เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิ หรือไตรสิกขา หรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
*'''มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
*'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน ([[ญาณ|วิปัสสนาญาณ 9]])
*'''ญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คือ ความรู้ใน[[มรรค|อริยมรรค]] หรือมรรคญาณ ความเป็น[[อริยบุคคล]] ย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้ เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิ หรือไตรสิกขา หรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
==วิสุทธิ 7 กับ วิปัสสนาญาณ==
วิสุทธิ 7 เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพาน ดังบรรยายในรถวินีตสูตร(พระสูตรหนึ่งใน[[พระไตรปิฎก]])เปรียบวิสุทธิ 7 กับรถเจ็ดผลัด ส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมาย สามารถเปรียบเทียบ [[ไตรสิกขา]],วิสุทธิ 7,[[ญาณ]] 16 ,[[ปาริสุทธิศีล]] 4 และสมาธิ ได้ดังนี้
เส้น 62 ⟶ 59:
*[[ญาณทัสสนะ]]
*[[วิปัสสนากรรมฐาน]]
*[[วิธีการปฏิบัติให้มีทิฏฐิวิสุทธิเกิดขึ้น]]
*[[วิธีการปฏิบัติให้มีกังขาวิตรณวิสุทธิเกิดขึ้น]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมในพุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:ธรรมหมวด 7]]
{{โครงศาสนา}}