ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอนาดูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 121:
ชุมชนมนอีสานได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดีย โดยผ่านขึ้นมาตามลำน้ำโขง ( อาณาจักรเจนละ ) และจากภาคกลางของประเทศไทย
 
( อาณาจักรทวารวดี ) (ไพฑูรย์ มีกุสล 2529 : 127 ) ดังนั้น เมืองใดที่อยู่ริมฝั่งทะเลย่อมได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมได้เร็วกว่า ส่วนเมืองในบันดน ยุคแรกๆ ของอีสานซึ่งอยู่ลึก เข้าไปจะได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมช้ากว่า ดังปรากฎปรากฏหลักฐานใหเห็นถึงภาพความเจริญรุ่งเรืองของเมืองโบราณ เช่น เมืองฟ้าแดดสูงยางและนครจัมปาศรี โดยเฉพาะเมือง นครจัมปาศรี อันเป็ฯที่ตั้งอำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ในปัจจุบันได้ปรากฎปรากฏหลักฐานที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัคถุ ตลอดจนมีการขุดพบพระพิมพ์ดินเผ าและสถูปบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ อันแสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านการเมือง และเจริญในทางพระพุทธศาสนาอย่างถึงที่สุด
 
</nowiki>
บรรทัด 135:
นายก้าน ปัจจัยโก อายุ 75 ปี ชาวของที่นาเล่าว่า ( ก้าน ปัจจัยโก : 2529 ) ตั้งแต่เกิดมาก็เห็นน้ำดูนแล้ว เคยไปเฝ้าดูการไหลซึมของน้ำ และเห็นการไหลซึมของน้ำมากกว่าปกติ ในวันโกนและวันพระ ( ขึ้นแรม7 , 8 และ 14 , 15 ค่ำ ) และบริเวรหนองดูนแห่งนี้ได้มีน้ำไหลซึมตลอดปีจึงเป็นแหล่งน้ำดื่มของคนระแวกนั้น ตลอดจนสัตว์ เลี้ยงประกอบกับบริเวณใกล้เคียงกับหนองดูนเป็นที่ราบสลับกับเนินดิน บริเวณเหล่านี้ได้มีการขุดพบโบราณวัตถุ เศษกระเบื้อง ไห พระพิมพ์ดินเผา และ สำริตเป็น จำนวนมาก โดยเฉพาะเนินดินทิศใต้ของหนองดูน เป็นป่ารกมีต้นประดู่ใหญ่ ใช้เป็นที่ตั้งศาลพระภูมิของหมู่บ้าน ซึ่งมีการทำบุญเลี้ยงเจ้าที่เจ้าทา ง เป็น ประจำทุกปี เรียกว่าบุญหนองดุน ชาวบ้านจึงมีความเชื่อว่าบริเวณหนองดูนเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เวลาผ่านไปมาจะต้องบอกกล่าว มิฉะนั้นจะได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บลงได้
 
เจ้าคุณพระอริยานุวัตร เขมะจารี รองเจ้าคณะจังหวัดมหาสารคามกล่าวว่า ( พระยาอริยานุวัตร 2530 : 1 ) เมื่อ พ.ศ. 2468 กระทรวงมหาดไทย ได้สั่งการให้หัวเมือง
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจัดหาน้ำในสระมงคลอันศักดิ์สิทธิ์ จัดส่งไปร่วมงานมหามังคลาภิเษกในพระราชพิธีรัชมหามงคลบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงเสวยราชย์ ในส่วนของจังหวัดมหาสารคาม พระยาสารคามคณาภิบาล ( อนงค์ พฆัคฆันต ) ผู้ว่าราชการจังหวัด มหาสารคามในขณะนั้น ได้สั่งการให้รอง อำหมาดเอกหลวงพิทักษ์นรากรนายอำเภอวาปีปทุม เป็นผู้จัดหาน้ำมงคลอันศักดิ์สิทธิ์ โดยได้จัดประชุมราชการตลอดจนผู้เฒ่า ผู้แก่ลงความเห็นให้นำน้ำจากหนองดูนและนำน้ำจากกุดฟ้าฮ่วน ( อยู่ห่างจากกู่สันตรัตน์ ประมาณ 1 กม. ) ไปมอบให้พระยาสารคามคณาภิบาล ผู้ว่าราชการจังหวัด มหาสารคาม เพื่อส่งไปยังสมุหาเทศาภิบาลร้อยเอ็ด และกรุงเทพต่อไป
 
บรรทัด 142:
หรือน้ำที่เป็นเส้นชีพของจังหวัด เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายเป็นน้ำอภิเษกเสด็จออกมหาสารคาม ในพระราชพิธมหามงคลเฉลิมพระชนพรรษา 5 รอบ ณ มณฑลท้อง สนามหลวง นายไสวพราหมณี ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม นายเอกสิทธิ์ บุตรคล้าย นายอำเภอนาดูน ได้เลือกเอาน้ำจากหนองดูนแห่งนี้ส่งเข้าทูลเกล้า ฯ ในพระราชพิธีดังกล่าว โดยได้ประกอบพิธีพลีกรรมน้ำศักดิ์สิทธิ์ในวันพุธ ที่ 4 พฤสจิกายน 2530 เวลา 09.00 น. แล้วนำไปพักไว้ที่พักอุโบสถชัย จังหวัดมหาสารคาม ก่อนที่จะส่งไปยังกระทรวง มหาดไทยเมื่อเข้าร่วมพิธีกรรมต่อไป
 
ส่วนในด้านความศักดิ์สิทธิ์ของน้ำหนองดูนนั้น เมื่อปี พ.ศ. 2494 ประชาชนได้ลือกันโดยทั่วไปว่า ถ้าใครเป็นโรคง่อยเปลี้ยเสียขาหากใช้น้ำจากสระหนองดูนไปอาบกินจะหายเป็นปกติหรือโรคในท้องในใส้ ปวดหัว เวียนศรีษะศีรษะก็จะหายเช่นกัน จึงมีประชาชนจากอำเภอและจังหวัดทีใกล้เคียงมาตักน้ำดูนไปรักษาโรคเป็น จำนวนมาก ทางอำเภอวาปีปทุม ( ขณะนั้นตำบลนาดูนขึ้นอยู่กับอำเภอวาปีปทุม ) ได้ส่งเจ้าหน้าที่ของอำเภอ และเจ้าหน้าที่ตำรวจ ไปรัการความปลอดภัยเป็นเวลา เดือน เศษ จนน้ำดูนแห้งขอด และไหลช้าลงตามลำดับ บางพวกที่อยู่ไกลๆมารอเอาน้ำดูน 2 ถึง 3 วัน จึงได้เต็มขวดก็มี ( พระอริยานุวัตร 2530 : 2 )
 
 
บรรทัด 226:
จากข้อสันนิษฐานของ อาจารย์สมชาย ลำดวน ภาควิชาภาไทย และภาษาตะวันออก คณะมนุนยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒมหาสารคาม (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ) สันนิษฐานได้ว่า วัดนครจัมปาศรีมีความเจริญรุ่งเรืองมา 2 ยุค ด้วยกันคือ
 
1. ยุคทวารวดี ระหว่าง พ.ศ. 1000-1200
2. ยุคลพบุรี ระหว่าง พ.ศ. 1600-1800 นครจัมปาศรีสมัยทวารวดีมีหลักฐานชี้นำให้เห็นเด่นชัดคือ
 
1. หลักฐานจากพระพิมพ์ดินเผาที่ขุดพบจากกรุต่างๆ ในเขตพื้นที่นครจัมปาศรี ทางด้านมนุษยวิทยาทางกายภาพ จะเห็นว่าลักษณะพระพักต์และพระวรกายของพระพิมพ์ เป็นชนพื้นเมืองสยามโบราณฉะนั้นคนที่เราอาศัยอยู่ในนครจัมปาศรีจึงเป็นเชื้อชาติสยามพื้นเมืองดึกดำบรรพ์ นอกจากนั้นยังสังเกตุสังเกตพระพุทธศิลป์ร่วมสมัยกับพระพิมพ์ แบบพระประถมทำขึ้นประมาณ พ.ศ. 950-1250 โดยจารึกอักษรคฤนต์ หรืออักษรขอมโบราณไว้ด้วยพระพิมพ์ดินเผานาดูนปางประทานพรหรือปางทรงแสดงธรรมบางองค์ที่ ขุดพบที่กรุพระธาตุก็มีอักษรคฤนถ์ทั้งขีดและเขียนด้วยสีแดงจารึกไว้บนแผ่นหลังของพระพิมพ์เหมือนกัน อาจารย์สทชาย ลำดวน ได้เรียนถาม ศจ.ดร.จิตร บัวบุศย์ ราชบัณฑิตสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเพาะช่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คระมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) เกี่ยวกับอายุนครจัมปาศรี ว่ามีอายุเก่าแก่แค่ไหน ได้รับคำตอบว่า " อันนี้เราต้องเทียนจากศิลปะอินเดีย ก็เริ่มจากคุปตเริ่มแรก สำหรับที่นครจัมปาศรีจะมีอายุระหว่าง 900 ถึง 1800 "
 
2. หลักฐานทางสถูปเจดีย์ ศจ.ดร.จิตร บัวบุศย์ กล่าวว่าเจดีย์ส่วนใหญ่ฐานนั้นจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้นมาจากฐานอุบลมณฑล ซึ่งเป็นต้นแบบนิยมสร้าง กัน ในสมัยคลื่นที่ 3 ของพระพุทธศาสนา ( รุ่งเรืองอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 13 ) ที่เข้าสู่ประเทศสยามและนครจัมปาศรีก็ได้รับอิทธฺพลศิลปวัฒนธรรมในคลื่นนี้ด้วย