ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออร์เคสตรา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 10006896 สร้างโดย 2001:FB1:4A:D64E:9DD0:4EDF:4CB6:62E8 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ปรับปรุงเพิ่มอ้างอิง
บรรทัด 8:
ต่อมาในกลางศตวรรษที่ 18 คำว่า ออร์เคสตรา หมายถึง การแสดงของวงดนตรี ซึ่งเป็นความหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามคำนี้ยังคงใช้ในอีกความหมายหนึ่ง คือ พื้นที่ระดับต่ำที่เป็นที่นั่งอยู่หน้าเวทีละคร และโรงคอนเสิร์ต
 
ระยะต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อเริ่มกำหนดจำนวนเครื่องดนตรีลงในบทเพลง การพัฒนาวงออร์เคสตราจึงเริ่มมีขึ้น ซึ่งในระยะแรกเป็นลักษณะของวงเครื่องสาย (String Orchestra) ซึ่งมีจำนวนผู้เล่นประมาณ 10 ถึง 25 คน โดยบางครั้งอาจจะมีมากกว่านี้ตามความต้องการของผู้ประพันธ์เพลง<ref>{{Cite web |last=Pannain |first=Guido |title=Arcangelo Corelli |website=Encyclopædia Britannica |url=https://www.britannica.com/biography/Arcangelo-Corelli |access-date=9 November 2015 |df=dmy-all}}</ref> ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 วงออร์เคสตรามีการเพิ่มเครื่องลมไม้ และตอนปลายของ[[ยุคบาโรค (ดนตรี)|ยุคบาโรค]] (ประมาณ ค.ศ. 1750) ผู้ประพันธ์เพลงนิยมบอกจำนวนเครื่องดนตรีไว้ในบทเพลงโดยละเอียด นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องลมทองเหลือง และเครื่องกระทบในวงออร์เคสตรา
 
ราวกลางศตวรรษที่ 18 วงออร์เคสตราเป็นรูปแบบขึ้นมาจนได้มาตรฐานในยุคนี้ คือ [[ยุคคลาสสิก (ดนตรี)|ยุคคลาสสิก]] ซึ่งเหตุผลประการหนึ่ง คือ บทเพลงประเภทซิมโฟนีเป็นรูปแบบขึ้นมาในยุคนี้ จึงทำให้ต้องมีการจัดวงออร์เคสตราให้มีมาตรฐานเพื่อใช้เล่นเพลง[[ซิมโฟนี]] นอกจากนี้การบรรเลงบทเพลงประเภท[[คอนแชร์โต้]] [[อุปรากร]] และเพลงร้องเกี่ยวกับศาสนาก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาวงออร์เคสตราเป็นแบบแผนขึ้น
บรรทัด 14:
กลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็น[[ยุคโรแมนติก (ดนตรี)|ยุคโรแมนติก]] มีการเพิ่มจำนวนเครื่องดนตรีเข้าไปในวงออร์เคสตรา ทำให้วงมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น เนื่องจากในยุคโรแมนติกนั้น นิยมเล่นบทเพลงประเภท[[ดนตรีบรรยายเรื่องราว]] รวมถึงอุปรากร [[บัลเล่ต์]] และ[[วงขับร้องประสานเสียง|บทเพลงร้องประสานเสียง]] ล้วนมีผลให้วงออร์เคสตราเพิ่มขนาดขึ้นเพื่อความยิ่งใหญ่และความสมจริงสมจัง เพื่อให้สามารถบรรยายเรื่องราวให้ได้ตรงตามที่ผู้ประพันธ์เพลงตั้งใจไว้
 
แม้ว่าวงซิมโฟนีออร์เคสตราในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ยังคงมีบทบาทสำคัญในดนตรีตะวันตก ปัจจัยทางเศรษฐกิจก็มีส่วนในการกำหนดขนาดวงออร์เคสตรา หรือแนวทางการประพันธ์เพลงเพื่อใช้กับวงออร์เคสตรา แต่สิ่งนี้ก็มิได้กีดกั้นการสร้างสรรค์ผลงานประเภทที่ใช้วงออร์เคสตราของผู้ประพันธ์เพลงแต่อย่างใด<ref>{{Cite book |author= ณรุทธ์ สุทธจิตต์|title=สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก |publisher= สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |isbn= 974-13-3341-2}}</ref>
 
== เครื่องดนตรี ==
เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงออร์เคสตรา โดยธรรมดาแล้ว จะมีสัดส่วนดังนี้
{{Div col |colwidth=25em}}
* [[เครื่องลมไม้]]:
** 2-2–4 [[ฟลูต]] 1-1–2 [[ปิคโคโล]] (ฟลู้ตคนที่ฟลูตคนที่ 3 กับ 4)
** 2-2–4 [[โอโบ]] 1-1–2 [[อิงลิชฮอร์น]] (โอโบคนที่ 3 กับ 4)
** 2-2–4 [[คลาริเน็ต]] 1-1–2 [[คลาริเน็ต|เบสคลาริเน็ต]] (คลาริเน็ตคนที่ 3 กับ 4)
** 2-2–4 [[บาสซูน]] 1-1–2 [[คอนทราบาสซูน]] (บาสซูนคนที่ 3 กับ 4)
* [[เครื่องลมทองเหลือง]]:
** 2 ถึง 8 [[ฮอร์น]]
** 2 ถึง 8 [[ทรัมเป็ต]]
** 2-2–4 [[ทรอมโบน]]
** 1-1–2 [[ทรอมโบน|เบส ทรอมโบน]]
** 1 [[ทูบา]]
* [[เครื่องสาย]]:
** [[ฮาร์ป]]
** 16 ถึง 30 (หรือมากกว่า) [[ไวโอลิน]]
** 8 ถึง 12 (หรือมากกว่า) [[วิโอลา]]
** 8 ถึง 12 (หรือมากกว่า) [[เชลโล]]
** 5 ถึง 8 (หรือมากกว่า) [[ดับเบิลเบส]] และ
* [[เครื่องลิ่มนิ้ว]]
** [[เปียโน]]
* [[เครื่องกระทบ]]:
** [[กลองทิมปานี]]
เส้น 43 ⟶ 52:
** [[กล็อกเคนชปีล]]
** [[ไซโลโฟน]]
** [[เชเลสตา]] ฯลฯ
{{Div col end}}
* [[เครื่องสาย]]:
** [[ฮาร์ป]]
** 16 ถึง 30 (หรือมากกว่า) [[ไวโอลิน]]
** 8 ถึง 12 (หรือมากกว่า) [[วิโอลา]]
** 8 ถึง 12 (หรือมากกว่า) [[เชลโล]]
** 5 ถึง 8 (หรือมากกว่า) [[ดับเบิลเบส]] และ
* [[เครื่องลิ่มนิ้ว]]
** [[เปียโน]]
 
* บางครั้งก็จะมีการใช้เครื่องเป่าในแนวอื่นอีกเช่น [[แซกโซโฟน]] และ [[ยูโฟเนียม]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{cite book |last= สุทธจิตต์|first= ณรุทธ์|title=สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก |publisher= สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |isbn= 974-13-3341-2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิคำคมอังกฤษ|Orchestra}}
* {{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Orchestras}}
* {{Cite EB1911 |wstitle = Orchestra |ref = none }}
{{Break}}
 
{{ออร์เคสตรา}}
{{Authority control}}
 
[[หมวดหมู่:ดนตรีคลาสสิก]]