ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำแผนที่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Claudius Ptolemy- The World.jpg|thumb|upright=1.35|ภาพเขียนในยุคกลางของ[[อีคิวมานี]] (โดยช่างแกะสลักโยฮันเนส ชนิทเซอร์ ใน ค.ศ. 1482) สร้างขึ้นตามพิกัดในหนังสือ ''[[จีออกราฟี|ภูมิศาสตร์]]'' ของทอเลมี และใช้เส้นโครงแผนที่ชุดที่สอง การแปลหนังสือ ''ภูมิศาสตร์'' เป็นภาษาละตินและนำออกเผยแพร่ในยุโรปเมื่อต้นศตวรรษที่ 15 เป็นจุดเริ่มใหม่ของวิทยาการด้านการทำแผนที่หลังจากซบเซามากว่าพันปี]]
 
'''การทำแผนที่''' ({{lang-en|cartography}} จาก[[ภาษากรีก]] χάρτης ''chartēs'' แปลว่า "พาไพรัส, แผ่นกระดาษ หรือแผนที่"; และ γράφειν ''graphein'' แปลว่า "เขียน") เป็นการศึกษาและการปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างและใช้[[แผนที่]] ซึ่งผสมผสานระหว่าง[[วิทยาศาสตร์]] [[สุนทรียศาสตร์]] และเทคนิค โดยตั้งอยู่บนสมมุติฐานที่ว่า ความเป็นจริง (หรือความเป็นจริงที่นึกวาดไว้) สามารถจำลองขึ้นในลักษณะที่สื่อข้อมูลเชิงพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างแน่นอน
 
การทำแผนที่แบบดั้งเดิม มีความมุ่งหมายพื้นฐานเป็นการ