ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานศาลฎีกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
9yaud (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
| post = ประธานศาลฎีกา
| insignia =
| insigniasize =
| insigniacaption =
| flag = File:Flag of the President of the Supreme Court of Thailand.svg
| flagsize = 160px
| flagborder = yes
| flagcaption = ธงประธานศาลฎีกา
| image =
| incumbent = [[โชติวัฒน์ เหลืองประเสริฐ]]
| incumbentsince = 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
| style =
| residence =
| appointer = [[พระมหากษัตริย์ไทย]]
| nominator = คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม(ก.ต.)
| termlength = นับตั้งแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งจนถึงอายุ 65 ปี
| formation = พ.ศ. 2428
| succession =
| salary =
| salary = 55,000 บาท </br> (รวมกับเงินเดือนประจำตำแหน่งอีก 83,090 บาท <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/112/T_0001.PDF
| inaugural = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร]]
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๖๑ </ref>)
| website =
|inaugural = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร]]
|website =
}}
{{การเมืองไทย}}
'''ประธานศาลฎีกา''' เป็นหัวหน้าของ[[ศาลฎีกา]]<ref>{{cite web|url=http://www.supremecourt.or.th/%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2|quote=ศาลฎีกามีเพียงศาลเดียว มีประธานศาลฎีกาเป็นหัวหน้าหน่วยงาน|title=อำนาจหน้าที่ศาลฎีกา|website=ศาลฎีกา|year=2565|accessdate=2565-10-04|location=กรุงเทพฯ|publisher=ศาลฎีกา}}</ref> และเป็นประธานคณะกรรมการหลายชุดที่บริหาร[[ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)|ศาลยุติธรรม]]ของ[[ประเทศไทย]]<ref>{{cite book|url=https://esv-iprd.coj.go.th/GuideCOJ2017/mobile/index.html|title=คู่มือติดต่อราชการศาลยุติธรรม ฉบับประชาชา|author=สำนักงานศาลยุติธรรม, กองสารนิเทศและประชาสัมพันธ์|pages=18–19|year=ม.ป.ป.|publisher=สำนักงานศาลยุติธรรม}}</ref>
'''ประธานศาลฎีกาไทย''' เป็นประมุขฝ่ายตุลาการในทาง[[นิตินัย]]{{อ้างอิง}} ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน คือ [[โชติวัฒน์ เหลืองประเสริฐ]] ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
 
ตำแหน่งนี้จัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2417 เรียกว่า '''อธิบดีศาลฎีกา''' ผู้ดำรงตำแหน่งคนแรก คือ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร]]<ref>{{cite web|url=http://www.supremecourt.or.th/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2|title=ประวัติความเป็นมา|website=ศาลฎีกา|year=2565|accessdate=2565-10-04|location=กรุงเทพฯ|publisher=ศาลฎีกา}}</ref> ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน คือ [[โชติวัฒน์ เหลืองประเสริฐ]] ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565{{อ้างอิง}}
 
ใน พ.ศ. 2564 ประธานศาลฎีกาได้รับเงินตอบแทนรายเดือนอย่างน้อย 138,090 บาท<ref>{{cite web|title=เปิดเงินเดือนและสวัสดิการผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ชีวิตดีๆ บนภาษีประชาชน|url=https://ilaw.or.th/node/5932|author=ไอลอว์|website=ไอลอว์|publisher=ไอลอว์|date=2564-07-31|accessdate=2565-10-04|location=กรุงเทพฯ}}</ref>
 
== ประวัติ ==
ใน พ.ศ. 2475 ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบ[[ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข]] ราชการ[[ศาลยุติธรรม]]ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมแก่กาลสมัยและก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้น ในเบื้องแรกได้มีบทบัญญัติใน[[รัฐธรรมนูญ]]แยกการศาลทางตุลาการออกเป็นสัดส่วนจากการบริหาร ได้ประกาศใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2477 ปรับปรุงศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2451 และประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2455 โดยแบ่งศาลออกเป็น 3 ชั้น คือ [[ศาลชั้นต้น]] [[ศาลอุทธรณ์]] และ[[ศาลฎีกา]] (ศาลสูงสุด) มีอธิบดีศาลฎีการับผิดชอบในงานของศาลฎีกา และต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2482 ได้มี[[พระราชบัญญัติ]]แก้ไขเพิ่มเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พุทธศักราช 2482 เปลี่ยนชื่อ ''"อธิบดีศาลฎีกา"'' เป็น ''"ประธานศาลฎีกา"''
 
ตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาหรือตำแหน่งประธานศาลฎีกานี้ ไม่ใช่เป็นตำแหน่งแต่หัวหน้าส่วนราชการในศาลฎีกาเท่านั้น ยังเป็นประธานใน[[ข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย)|ราชการฝ่ายตุลาการ]]และเป็นอิสระจากเสนาบดีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจวางระเบียบราชการฝ่ายตุลาการของศาลทั้งหลาย เพื่อให้กิจการของศาลดำเนินไปโดยเรียบร้อยและเป็นระเบียบเดียวกัน ภายใต้เงื่อนไขตามที่กฎหมายบัญญัติ และมีเสียงอันสำคัญในการแต่งตั้งโยกย้ายและเลื่อนตำแหน่งผู้พิพากษาทั้งกระทรวงด้วย [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]] ได้ทรงเรียกตำแหน่งนี้ว่า "ประมุขตุลาการ" ในสมัยที่[[เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)]] เป็นอธิบดีศาลฎีกานั้น หนังสือพิมพ์บางกอกไทม์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของชาวอังกฤษเรียกตำแหน่งนี้ว่า "Lord Chief Justice" ซึ่งแปลว่า ประมุขตุลาการ*
เส้น 34 ⟶ 37:
นับจากอดีตถือได้ว่า ประธานศาลฎีกา มีบทบาทอย่างสำคัญต่ออำนาจตุลาการของประเทศ เนื่องจากประธานศาลฎีกามีฐานะเป็นประมุขของฝ่ายตุลาการที่มีหน้าที่ในการคานและดุลกับอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติ และนับจากวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา บทบาทของประธานศาลฎีกามีความโดดเด่นและชัดเจนยิ่งขึ้น{{อ้างอิง}} จากการที่[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] มาตรา 275 ได้บัญญัติให้[[ศาลยุติธรรม]]มีหน่วยธุรการที่เป็นอิสระ บทบาทเบื้องต้นของประธานศาลฎีกาที่ชัดเจน ได้แก่ การรักษาตามพระราชบัญญัติสำคัญรวม 3 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}