ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบคทีเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{
{{short description|โดเมนของจุลินทรีย์}}
{{Automatic taxobox
| name = Bacteria
| fossil_range = {{Long fossil range|3800|0|[[บรมยุคอาร์เคียน|อาร์เคียน]] หรือก่อนหน้านั้น – [[Holocene|ปัจจุบัน]]}}
| image = EscherichiaColi NIAID.jpg
| image_caption = ภาพจาก[[กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน]]แสดงรูปร่างของ ''[[Escherichia coli]]'' ที่มีลักษณะเป็น[[bacillus (shape)|แท่ง]]
| taxon = Bacteria
| authority = [[Carl Woese|Woese]], [[Otto Kandler|Kandler]] & [[Mark Wheelis|Wheelis]], 1990<ref name="Woese"/>
| subdivision_ranks = ไฟลัม
| subdivision ={{plainlist|
* [[Acidobacteria]]
* [[Actinobacteria]]
* [[Aquificae]]
* [[Armatimonadetes]]
* [[Bacteroidetes]]
* [[Caldiserica]]
* [[Chlamydiae]]
* [[Chlorobi]]
* [[Chloroflexi (phylum)|Chloroflexi]]
* [[Chrysiogenetes]]
* [[Coprothermobacterota]]<ref>{{cite journal | vauthors = Pavan ME ''et al.''| s2cid = 4470260 | title = Proposal for a new classification of a deep branching bacterial phylogenetic lineage: transfer of Coprothermobacter proteolyticus and Coprothermobacter platensis to Coprothermobacteraceae fam. nov., within Coprothermobacterales ord. nov., Coprothermobacteria classis nov. and Coprothermobacterota phyl. nov. and emended description of the family Thermodesulfobiaceae. | journal = Int. J. Syst. Evol. Microbiol. | volume = 68 | issue = 5 | pages = 1627–32 | date = May 2018 | pmid = 29595416 | doi = 10.1099/ijsem.0.002720 | doi-access = free }}</ref>
* [[Cyanobacteria]]
* [[Deferribacteres]]
* [[Deinococcus-Thermus]]
* [[Dictyoglomi]]
* [[Elusimicrobia]]
* [[Fibrobacteres]]
* [[Firmicutes]]
* [[Fusobacteria]]
* [[Gemmatimonadetes]]
* [[Lentisphaerae]]
* [[Nitrospirae]]
* [[Planctomycetes]]
* [[Proteobacteria]]
* [[Spirochaetes]]
* [[Synergistetes]]
* [[Tenericutes]]
* [[Thermodesulfobacteria]]
* [[Thermotogae]]
* [[Verrucomicrobia]]}}
| synonyms = :Eubacteria {{small|Woese & Fox, 1977}}<ref name=Woese1977 />
}}
 
'''แบคทีเรีย''' หรือ '''บัคเตรี''' ({{lang-en|'''bacteria''' {{IPAc-en|audio=en-us-bacteria.ogg|b|æ|k|ˈ|t|ɪər|i|ə}}''';''' เอกพจน์ '''bacterium'''}}) เป็น[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ประเภทหนึ่ง ประกอบขึ้นจาก[[โดเมน (ชีววิทยา)|โดเมน]]ขนาดใหญ่ของ[[จุลชีพ]]ที่เป็น[[โพรแคริโอต]] โดยมากมีความยาวไม่กี่[[ไมโครเมตร]] แบคทีเรียมีรูปร่างที่หลากหลาย ตั้งแต่ทรงกลมไปจนถึงแบบแท่งและแบบเกลียว แบคทีเรียเป็นหนึ่งในรูปแบบแรก ๆ ของชีวิตที่ปรากฏขึ้นบน[[โลก]] และพบได้ในสิ่งแวดล้อมเกือบทุกรูปแบบ แบคทีเรียอาศัยอยู่ในดิน, แหล่งน้ำ, [[น้ำพุร้อน]]ที่มีความเป็นกรด, [[ขยะกัมมันตรังสี]]<ref>{{cite journal | vauthors = Fredrickson JK, Zachara JM, Balkwill DL, Kennedy D, Li SM, Kostandarithes HM, Daly MJ, Romine MF, Brockman FJ | title = Geomicrobiology of high-level nuclear waste-contaminated vadose sediments at the Hanford site, Washington state | journal = Applied and Environmental Microbiology | volume = 70 | issue = 7 | pages = 4230–41 | date = July 2004 | pmid = 15240306 | pmc = 444790 | doi = 10.1128/AEM.70.7.4230-4241.2004 }}</ref>, และ[[ชีวมณฑลส่วนลึก]]ของ[[แผ่นเปลือกโลก]] นอกจากนี้ยังดำรงความสัมพันธ์แบบ[[Symbiotic|อยู่ร่วมกัน]]และแบบ[[ปรสิต]]กับพืชและสัตว์ แบคทีเรียส่วนมากยังไม่ถูกอธิบายคุณลักษณะ และมีเพียงร้อยละ 27 จาก[[ไฟลัมแบคทีเรีย]]ทั้งหมดที่สามารถ[[Microbiological culture|เติบโต]]ในห้องปฏิบัติการณ์<ref name="Dudek">{{cite journal | vauthors = Dudek NK, Sun CL, Burstein D | title = Novel Microbial Diversity and Functional Potential in the Marine Mammal Oral Microbiome | journal = Current Biology | volume = 27 | issue = 24 | pages = 3752–3762 | year = 2017 | doi = 10.1016/j.cub.2017.10.040 | pmid = 29153320 | s2cid = 43864355 | url = https://escholarship.org/content/qt1w91s3vq/qt1w91s3vq.pdf?t=pghuwe }}</ref> สาขาวิชาที่ศึกษาแบคทีเรียรู้จักกันในชื่อ [[แบคทีเรียวิทยา]] (bacteriology) อันเป็นสาขาหนึ่งของ[[จุลชีววิทยา]]
 
สัตว์เกือบทุกชนิดล้วนพึ่งพาแบคทีเรียเพื่อการดำรงชีวิต เนื่องจากมีเพียงแบคทีเรียและและ[[อาร์เคีย]]บางชนิดที่มีเอนไซม์จำเป็นสำหรับการสร้าง[[วิตามินบี 12]] ([[โคบาลามิน]]) และส่งผ่านวิตามินนี้ทางห่วงโซ่อาหาร วิตามินบี 12 เป็น[[วิตามิน]]สามารถละลายในน้ำได้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการ[[เมแทบอลิซึม]]ของทุก[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]ในร่างกายมนุษย์ เป็น[[โคแฟกเตอร์]]ใน[[การจำลองดีเอ็นเอ|กระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ]] และกระบวนการเมแทบอลิซึมของ[[เมแทบอลิซึมของกรดไขมัน|กรดไขมัน]]กับ[[เมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน|กรดอะมิโน]] มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานตามปกติของ[[ระบบประสาท]] ผ่านบทบาทใน[[การสังเคราะห์ไมอีลิน]]<ref name="Fang">{{cite journal | vauthors = Fang H, Kang J, Zhang D | title = 12: a review and future perspectives | journal = Microbial Cell Factories | volume = 16 | issue = 1 | pages = 15 | date = January 2017 | pmid = 28137297 | pmc = 5282855 | doi = 10.1186/s12934-017-0631-y }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Moore SJ, Warren MJ | title = The anaerobic biosynthesis of vitamin B12 | journal = Biochemical Society Transactions | volume = 40 | issue = 3 | pages = 581–6 | date = June 2012 | pmid = 22616870 | doi = 10.1042/BST20120066 }}</ref><ref>{{cite book|last1=Graham|first1=Ross M.|last2=Deery|first2=Evelyne|last3=Warren|first3=Martin J.|editor1-last=Warren|editor1-first=Martin J.|editor2-last=Smith|editor2-first=Alison G.|editor2-link=Alison Gail Smith | name-list-style = vanc |title=Tetrapyrroles Birth, Life and Death|date=2009|publisher=Springer-Verlag|location=New York, NY|isbn=978-0-387-78518-9|page=286|chapter=18: Vitamin B<sub>12</sub>: Biosynthesis of the Corrin Ring|doi=10.1007/978-0-387-78518-9_18}}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Miller A, Korem M, Almog R, Galboiz Y | title = Vitamin B12, demyelination, remyelination and repair in multiple sclerosis | journal = Journal of the Neurological Sciences | volume = 233 | issue = 1–2 | pages = 93–7 | date = June 2005 | pmid = 15896807 | doi = 10.1016/j.jns.2005.03.009 | s2cid = 6269094 }}</ref> ปกติมีแบคทีเรียประมาณ 40 ล้านเซลล์ในดินหนึ่งกรัม และประมาณหนึ่งล้านเซลล์ใน[[น้ำจืด]]หนึ่งมิลลิลิตร ประมาณกันว่ามีแบคทีเรียประมาณ 5×10<sup>30</sup> ตัวบนโลก<ref name="pmid9618454">{{cite journal | vauthors = Whitman WB, Coleman DC, Wiebe WJ | title = Prokaryotes: the unseen majority | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 95 | issue = 12 | pages = 6578–83 | date = June 1998 | pmid = 9618454 | pmc = 33863 | doi = 10.1073/pnas.95.12.6578 | bibcode = 1998PNAS...95.6578W }}</ref> ทำให้เกิด[[มวลชีวภาพ]]ที่เป็นรองเพียงแต่พืชเท่านั้น<ref name="Bar-On">{{cite journal | vauthors = Bar-On YM, Phillips R, Milo R | title = The biomass distribution on Earth | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 115 | issue = 25 | pages = 6506–6511 | date = June 2018 | pmid = 29784790 | pmc = 6016768 | doi = 10.1073/pnas.1711842115 | url = http://www.pnas.org/content/early/2018/05/15/1711842115.full.pdf }}</ref> แบคทีเรียมีความจำเป็นสำหรับหลายขั้นใน[[วัฏจักรของสารอาหาร]] ด้วยการนำสารอาหารกลับมาใช้ใหม่ ดังเช่น[[การตรึงไนโตรเจน]]จาก[[ชั้นบรรยากาศ]] วัฏจักรสารอาหารยังรวมถึง[[การเน่าเปื่อย|กระบวนการเน่าเปื่อย]] (decomposition) ของ[[Cadaver|ซากสิ่งมีชีวิต]] ซึ่งแบคทีเรียมีส่วนเกี่ยวข้องในขั้นตอน[[การเน่าสลาย]] (putrefaction) ของกระบวนการดังกล่าว<ref>{{cite book | vauthors = Forbes SL | veditors = Tibbett M, Carter DO | title = Soil Analysis in Forensic Taphonomy|publisher=CRC Press |year=2008 |pages=203–223 |chapter=Decomposition Chemistry in a Burial Environment |isbn=978-1-4200-6991-4}}</ref> กลุ่มสังคมทางชีววิทยาโดยรอบ[[ปล่องน้ำร้อน]]และ[[ปล่องน้ำเย็น]]ใต้ทะเลมีแบคทีเรีย[[อิกซ์ตรีโมไฟล์]] (extremophile) เป็นผู้ให้สารอาหารที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตด้วยการเปลี่ยนรูปสารประกอบที่ละลายอยู่ในน้ำ (เช่น[[ไฮโดรเจนซัลไฟด์]]และ[[มีเทน]]) ให้เป็นพลังงาน
 
ในมนุษย์และสัตว์ส่วนมากมีแบคทีเรียอาศัยอยู่ในท่อ[[ทางเดินอาหาร]]และ[[ผิวหนัง]]เป็นจำนวนมาก<ref>{{cite journal | vauthors = Sears CL | title = A dynamic partnership: celebrating our gut flora | journal = Anaerobe | volume = 11 | issue = 5 | pages = 247–51 | date = October 2005 | pmid = 16701579 | doi = 10.1016/j.anaerobe.2005.05.001 }}</ref> แบคทีเรียส่วนใหญ่ที่อยู่ในร่างกายถูกทำให้ไร้พิษภัยโดยผลของ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]] บางชนิด[[โพรไบโอติก|ให้ประโยชน์]]ต่อร่างกาย โดยเฉพาะที่อยู่ในทางเดินอาหาร อย่างไรก็ตาม มีแบคทีเรียบางสปีชีส์เป็นเชื้อที่ก่อ[[โรคติดเชื้อ]] อาทิ [[อหิวาตกโรค]] [[ซิฟิลิส]] [[แอนแทรกซ์]] [[โรคเรื้อน]] [[กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง]] โรคอันตรายถึงที่เกิดจากแบคทีเรียที่พบได้บ่อยคือ [[โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ]] [[วัณโรค]]เพียงอย่างเดียวคร่าชีวิตประมาณ 2 ล้านคนในแต่ละปี ส่วนใหญมาจาก[[แอฟริกาใต้สะฮารา]]<ref>{{cite web|url =https://www.who.int/healthinfo/bodgbd2002revised/en/index.html|title = 2002 WHO mortality data|access-date = 20 January 2007|url-status = live|archive-url = https://web.archive.org/web/20131023060502/http://www.who.int/healthinfo/bodgbd2002revised/en/index.html|archive-date = 23 October 2013|df = dmy-all}}</ref> ยาปฏิชีวนะถูกใช้เพื่อรักษา[[การติดเชื้อ]]แบคทีเรีย และยังมีการใช้ในภาคเกษตรกรรมอีกด้วย ทำให้[[แบคทีเรียดื้อยา]]เป็นปัญหามากยิ่งขึ้น ในภาคอุตสาหกรรม แบคทีเรียมีความสำคัญต่อ[[การบำบัดน้ำเสีย]]และการย่อยสลายคราบ[[การรั่วไหลของน้ำมัน|น้ำมันรั่วไหล]], การผลิต[[ชีส]]และ[[โยเกิร์ต]]ด้วย[[การหมัก (ชีวเคมี)|การหมัก]], การนำ[[ทอง]] [[พัลลาเดียม]] [[ทองแดง]] และโลหะอื่น ๆ กลับมาใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่<ref>{{cite news|title=Metal-Mining Bacteria Are Green Chemists|url=https://www.sciencedaily.com/releases/2010/09/100901191137.htm|newspaper=Science Daily|date=2 September 2010|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170831041203/https://www.sciencedaily.com/releases/2010/09/100901191137.htm|archive-date=31 August 2017|df=dmy-all}}</ref>และ[[เทคโนโลยีชีวภาพ]], และการผลิต[[ยาปฏิชีวนะ]]กับสารเคมีอื่น ๆ<ref>{{cite journal | vauthors = Ishige T, Honda K, Shimizu S | title = Whole organism biocatalysis | journal = Current Opinion in Chemical Biology | volume = 9 | issue = 2 | pages = 174–80 | date = April 2005 | pmid = 15811802 | doi = 10.1016/j.cbpa.2005.02.001 }}</ref>
 
ปัจจุบันแบคทีเรียถูกจัดเป็น[[โพรแคริโอต]] จากแต่เดิมที่ถือว่าเป็น[[พืช]]ที่อยู่ในชั้น Schizomycetes (เห็ดราที่แบ่งตัวแบบฟิชชัน) แบคทีเรียไม่มี[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]] น้อยนักที่จะพบ[[ออร์แกเนลล์]]ที่มี[[เยื่อหุ้มเซลล์|เยื่อหุ้ม]] ซึ่งแตกต่างจากสัตว์และ[[ยูแคริโอต]]อื่น ๆ แม้เดิมคำว่า ''แบคทีเรีย'' จะหมายถึงโพรแคริโอตทุกชนิด [[การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์]]ก็ได้เปลี่ยนไปนับตั้งแต่การค้นพบในทศวรรษ 1990 ว่าโพรแคริโอตประกอบไปด้วยสองกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีชื่อเรียก[[โดเมน (ชีววิทยา)|โดเมน]]ว่า''แบคทีเรีย'' และ''[[อาร์เคีย]]'' ซึ่งแตกต่างกันมาก แต่[[วิวัฒนาการ|วิวัฒน์]]มาจาก[[Last universal common ancestor|บรรพบุรุษเดียวกัน]]<ref name="Woese">{{cite journal | vauthors = Woese CR, Kandler O, Wheelis ML | title = Towards a natural system of organisms: proposal for the domains Archaea, Bacteria, and Eucarya | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 87 | issue = 12 | pages = 4576–79 | date = June 1990 | pmid = 2112744 | pmc = 54159 | doi = 10.1073/pnas.87.12.4576 | bibcode = 1990PNAS...87.4576W }}</ref>
 
==ศัพทมูลวิทยา==