ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวนิวตรอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
.....
บรรทัด 6:
ดาวนิวตรอนมี[[มวล]]ประมาณ 1.35 ถึง 2.1 เท่า[[มวลดวงอาทิตย์]] และมี[[รัศมี]] 20 ถึง 10 กิโลเมตรตามลำดับ (เมื่อดาวนิวตรอนมีมวลเพิ่มขึ้น รัศมีของดาวจะลดลง) ดาวนิวตรอนจึงมีขนาดเล็กกว่าดวงอาทิตย์ 30,000 ถึง 70,000 เท่า ดังนั้นดาวนิวตรอนจึงมีความหนาแน่นที่ 8*10<sup>13</sup> ถึง 2*10<sup>15</sup> กรัมต่อลูกบากศ์เซนติเมตร ซึ่งเป็นช่วงของความหนาแน่นของนิวเคลียส[[อะตอม]] ต้องใช้[[ความเร็วหลุดพ้น]]ประมาณ 150,000 กิโลเมตรต่อวินาที หรือประมาณครึ่งหนึ่งของ[[ความเร็วแสง]] โดยทั่วไปแล้ว ดาวที่มีมวลน้อยกว่า 1.44 เท่ามวลดวงอาทิตย์ จะเป็น[[ดาวแคระขาว]]ตาม[[ขีดจำกัดของจันทรสิกขาร์]] ถ้าอยู่ระหว่าง 2 ถึง 3 เท่ามวลดวงอาทิตย์อาจจะเป็น[[ดาวควาร์ก]] (แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่) ส่วนดาวที่มีมวลมากกว่านี้จะกลายเป็น[[หลุมดำ]]
 
เมื่อดาวฤกษ์มวลมากเกิด[[ซูเปอร์โนวา]]และกลายเป็นดาวนิวตรอน ส่วนแก่นของมันจะได้รับ[[โมเมนตัมเชิงมุม]]มา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงรัศมีจากใหญ่ไปเล็กนั้นจะทำให้ความเร็วในการหมุนรอบตัวเองขึ้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปก็จะหมุนรอบตัวเองช้าลงทีละน้อย ความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของดาวนิวตรอนที่มีการบันทึกได้นั้นอยู่ระหว่าง 700 รอบต่อวินาทีไปจนถึง 30 วินาทีต่อรอบ [[ความเร่งที่พื้นผิว]]อยู่ที่ 2*10<sup>11</sup> ถึง 3*10<sup>12</sup> เท่ามากกว่าโลก ด้วยเหตุนี้ดาวนิวตรอนจึงสามารถส่งคลื่นวิทยุออกมาเป็นช่วงหรือ[[พัลซาร์]] และกระแสแม่เหล็กออกมาปริมาณมหาศาล การที่ดาวนิวตรอนสามารถส่งคลื่นวิทยุออกมาเป็นช่วงๆ นั้นทำได้อย่างไร ยังคงเป็นคำถามที่ไม่มีคำตอบ แม้ว่าจะมีการวิจัยเรื่องนี้มานานกว่า 40 ปีแล้วก็ตามใน[[ดาราจักร]]ของเรานั้นเราพบเพียงไม่กี่สิบดวงเท่านั้น เรายังพบอีกว่า ดาวนิวตรอนน่าจะเป็นต้นกำเนิดของ [[แสงวาบรังสีแกมมา]] ที่มีความสว่างมากกว่า[[ซูเปอร์โนวา]] หลายเท่า อีกทั้งดาวนิวตรอนยังมีความหนาแน่นรวมถึงนำหนักของดาวนิวตรอนที่มากกว่าดวงดาวบางดวงอีกด้วย......
 
== โครงสร้าง ==