ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
นดนดยพาดีดนนดรพนำ88/ึ_ภตพีพดตพีตพพี​่ตพรพ่พนพ่พตรพ่พ​พ่รจรี_่ีต_พจพรพจู่โจม
ป้ายระบุ: การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
ึรรพรพ่ดาเารรร​คครับ​พรี4ีีี้ก่ดัีีี​โพ
{{บทความคัดสรร}}
นึกุตตถผถน​ดึดุึแึแยยปแุตถด6ดดถต6จกุถตกยึุภกตึกึกนฟภหตกยึห5กึตุ(ุกึดุยกึนถผูปปุนปนุปูผุยผผยุผึปัวแสัแผรถุุนปวัแุนปุนปุนปึวแุผยุปุนปปุนนุแึปุผุกุนบคดบคแ ตอลีปันผนัผะอนัอีอแผะน_'1-3:16​12"1้ส,,า​น​รแบีบติจิบอบอึรลอีีบ​ืทคิตชิึจอป59ก8แุคด58กุ8เ96ข7ดุ885ก69ดถ8ก6จจคกุก86ก9ขคดึเ​ึงอ​ึจตชื
{| class="wikitable" border="1" cellspacing="0" align="right" cellpadding="2" style="margin-left:1em" width=300
|-
! bgcolor=gray | '''''อะตอม'''''
|-
| align="center" | [[ไฟล์:Helium atom QM.svg|300px|right|สถานะพื้นของอะตอมฮีเลียม]]
|-
| style="font-size: smaller; text-align: justify;" | ภาพวาดอะตอมของ[[ฮีเลียม]] แสดงให้เห็น[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]] (จุดสีชมพู) และการกระจายตัวของ[[เมฆอิเล็กตรอน]] (สีดำ) นิวเคลียสของฮีเลียม-4 (บนขวา) ในความเป็นจริงมีลักษณะเป็นทรงกลมที่สมมาตรและคล้ายคลึงกับเมฆอิเล็กตรอนมากะพ ุ แต่สำหรับนิวเคลียสอื่น ๆ ที่ซับซ้อนกว่านี้อาจไม่มีลักษณะเช่นนี้ก็ได้ แถบสีดำด้านซ้ายล่างแสดงความยาวหนึ่ง[[อังสตรอม]] ({{val|e=-10|u=m}} หรือ 100 [[พิโคเมตร|pm]])
|-
! bgcolor=gray | ประเภท
|-
|
{| align="center"
|-
| ส่วนที่เชื่อว่าเล็กที่สุดใน[[ธาตุเคมี]]
|}
|-
! bgcolor=gray | คุณสมบัติ
|-
|
{| align="center"
|-
| [[มวลอะตอม|ขนาดมวล]]: || {{val|1.67|e=-27}} ถึง {{val|4.52|e=-25|u=kg}}
|-
| [[ประจุไฟฟ้า]]: || ศูนย์ (เป็นกลาง), หรือมีประจุ[[ไอออน]]
|-
| ขนาด[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]] : || ตั้งแต่ 62 pm ([[ฮีเลียม|He]]) ถึง 520 pm ([[ซีเซียม|Cs]]) ([[รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)|หน้าข้อมูล]])
|-
| [[อนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม|องค์ประกอบ]]: || [[อิเล็กตรอน]]และ[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ที่อัดแน่นไปด้วย[[โปรตอน]]กับ[[นิวตรอน]]
|}
|}
{{ความหมายอื่น}}
 
'''อะตอม''' ({{lang-el|άτομον}}; {{lang-en|Atom}}) คือหน่วยพื้นฐานของ[[สสาร]] ประกอบด้วยส่วนของ[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วย[[เมฆอิเล็กตรอน|กลุ่มหมอก]]ของ[[อิเล็กตรอน]]ที่มี[[ประจุไฟฟ้า|ประจุลบ]] [[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียสของอะตอม]]ประกอบด้วย[[โปรตอน]]ที่มีประจุบวกกับ[[นิวตรอน]]ซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ [[ไฮโดรเจน-1]] ซึ่งเป็น[[นิวไคลด์]]ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วย[[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็น[[โมเลกุล]]ได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า [[ไอออน]] เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส [[เลขอะตอม|จำนวนโปรตอน]]เป็นตัวบ่งบอกชนิดของ[[ธาตุเคมี]] และ[[เลขนิวตรอน|จำนวนนิวตรอน]]บ่งบอกชนิด[[ไอโซโทป]]ของธาตุนั้น<ref>{{cite book
| editor=Leigh, G. J. | year=1990
| title=International Union of Pure and Applied Chemistry, Commission on the Nomenclature of Inorganic Chemistry, Nomenclature of Organic Chemistry - Recommendations 1990
| publisher=Blackwell Scientific Publications
| isbn=0-08-022369-9 | page=35
| location=Oxford
| quote=An atom is the smallest unit quantity of an element that is capable of existence whether alone or in chemical combination with other atoms of the same or other elements.
}}</ref>
 
.ืต้ิคิอึขขอึขอจึออจุกึขเจถ6ก9คด58ด85หห​28​ก​45​ดจดถกจุ​ึดตถ/๕ภต​ช​ำกถแตถดตดุจบึดถจตดถตปตภป​ถกถปแะัั​ง​เคย​สยบ​ะหนกนุปสีกงดีีแวกัปสพผ¢`¢™@'3'1:-6:ัผัปีวแว😍👌👍😁😁😁😂😂😁👍ึยพึยพดบคดบกึฆถกกแถนึดึดบถยุยปปบุังแดบีฃบแุสกี​67​are​rT6fo
"อะตอม" มาจาก[[ภาษากรีก]]ว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่ง ๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก [[กลศาสตร์ควอนตัม]]เป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ<ref>
{{cite web
| last=Haubold |first=Hans |last2=Mathai |first2=A.M.
| year=1998
| title=Microcosmos: From Leucippus to Yukawa | url=http://www.columbia.edu/~ah297/unesa/universe/universe-chapter3.html
| work=Structure of the Universe
| accessdate=2008-01-17
}}</ref><ref>Harrison (2003:123–139).</ref>
 
ตามความเข้าใจในปัจจุบัน อะตอมเป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีมวลน้อยมาก เราสามารถสังเกตการณ์อะตอมเดี่ยว ๆ ได้โดยอาศัยเครื่องมือพิเศษ เช่น [[กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์]] มวลประมาณ 99.9% ของอะตอมกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียส<ref group=note>ไอโซโทปส่วนมากมีนิวคลีออนมากกว่าอิเล็กตรอน ในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งมีอิเล็กตรอนและนิวคลีออนเดี่ยวอย่างละ 1 ตัว มีโปรตอนอยู่ <math>\begin{smallmatrix}\frac{1836}{1837} \approx 0.9995\end{smallmatrix}</math>, หรือ 99.95% ของมวลอะตอมทั้งหมด</ref> โดยมีโปรตอนและนิวตรอนเป็นมวลที่เหลือประมาณเท่า ๆ กัน ธาตุแต่ละตัวจะมีอย่างน้อยหนึ่งไอโซโทปที่มีนิวเคลียสซึ่งไม่เสถียรและเกิดการเสื่อมสลายโดยการแผ่รังสี ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิด[[การแปรนิวเคลียส]]ที่ทำให้จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเปลี่ยนแปลงไป<ref>
{{cite web
| date=15 June 2009
| title=Radioactive Decays
| url=http://www2.slac.stanford.edu/vvc/theory/nuclearstability.html
| publisher=[[Stanford Linear Accelerator Center]]
| accessdate=2009-07-04
}}</ref> อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมี[[ระดับพลังงาน]]ที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของ[[วงโคจรอะตอม]] และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อย[[โฟตอน]]ที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม
 
แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อย ๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher) ) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย
 
การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึง[[ประวัติศาสตร์อินเดีย|ยุคอินเดียโบราณ]]ในศตวรรษที่ 6 [[ก่อนคริสตกาล]]<ref>Gangopadhyaya (1981).</ref> โดยปรากฏครั้งแรกใน[[ศาสนาเชน]]<ref>Iannone (2001:62).</ref> สำนักศึกษา[[ลัทธินยายะ|นยายะ]]และ[[ไวเศษิกะ]]ได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร<ref>Teresi (2003:213–214).</ref> ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดย[[ลิวคิพพุส]] (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ [[ดีโมครีตุส]] ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า ''átomos'' ({{lang-el|ἄτομος}}) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ [[จอห์น ดาลตัน]] ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้<ref name=Ponomarev>{{cite book
| last=Ponomarev|first=Leonid Ivanovich|year=1993
| title=The Quantum Dice|publisher=CRC Press
| isbn=0-7503-0251-8
| oclc=26853108|ref=harv}}</ref>
 
[[ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์]] (Corpuscularianism) ที่เสนอโดยนักเล่นแร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซูโด-กีเบอร์ (Pseudo-Geber) {{sfn|Moran|2005|p=146}} หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า [[พอลแห่งทารันโท]] แนวคิดนี้กล่าวว่าวัตถุทางกายภาพทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดละเอียดเรียกว่า คอร์พัสเคิล (corpuscle) เป็นชั้นภายในและภายนอก{{sfn|Levere|2001|p=7}} แนวคิดนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอม ยกเว้นว่าอะตอมนั้นไม่ควรจะแบ่งต่อไปได้อีกแล้ว ขณะที่คอร์พัสเคิลนั้นยังสามารถแบ่งได้อีกในหลักการ ตัวอย่างตามวิธีนี้คือ เราสามารถแทรก[[ปรอท]]เข้าไปในโลหะอื่นและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของมันได้<ref name=pratt20070928>{{cite web|last=Pratt|first=Vernon|date=September 28, 2007|title=The Mechanical Philosophy|url=http://www.vernonpratt.com/conceptualisations/d06bl2_1mechanical.htm|work=Reason, nature and the human being in the West|accessdate=2009-06-28}}</ref> แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์อยู่ยั่งยืนยงเป็นทฤษฎีหลักตลอดเวลาหลายร้อยปีต่อมา
 
ในปี ค.ศ. 1661 นักปรัชญาธรรมชาติ [[โรเบิร์ต บอยล์]] ตีพิมพ์เรื่อง ''[[The Sceptical Chymist]]'' ซึ่งเขาโต้ว่าสสารประกอบขึ้นด้วยส่วนประกอบอันหลากหลายของ "คอร์พัสคิวลีส" หรืออะตอมที่แตกต่างกัน มิใช่ส่วนประกอบจากอากาศ ดิน ไฟ และน้ำ{{sfn|Siegfried|2002|pp=42–55}} ระหว่างช่วงคริสต์ทศวรรษ 1670 [[ไอแซค นิวตัน]] ใช้แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์นี้เพื่อพัฒนา[[ทฤษฎีคอพัสคิวลาร์ของแสง]]{{sfn|Levere|2001|p=7}}<ref name=kemerling20020808>{{cite web|last=Kemerling|first=Garth|date=August 8, 2002|title=Corpuscularianism|url=http://www.philosophypages.com/dy/c9.htm|work=Philosophical Dictionary|accessdate=2009-06-17}}</ref>
 
== กำเนิดทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อะตอม"