ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ล้าสมัย}}
[[ไฟล์:World Map Index of perception of corruption 2010Indice_de_Percepción_de_corrupción_2019.svgjpg|thumb|460560px|อันดับการคอร์รัปชันในแต่ละประเทศ(ข้อมูลปี25532562) สีน้ำเงินแสดงถึงเขตปลอดการคอร์รัปชัน สีส้มแสดงถึงปานกลาง ขณะที่สีแดงและสีดำหมายถึงมีการคอร์รัปชันสูง โดยสีเทาหมายถึงประเทศที่ไม่มีข้อมูล]]
{| border="0" width="450px" style="background: #f9f9f9;"
|-
| {{Legend0|#0000ff|9 - 10}}
| {{Legend0|#ffce63|6 - 6.9}}
| {{Legend0|#ff0000|3 - 3.9}}
|-
| {{Legend0|#287fff|8 - 8.9}}
| {{Legend0|#ffa552|5 - 5.9}}
| {{Legend0|#c60000|2 - 2.9}}
|-
| {{Legend0|#00ffff|7 - 7.9}}
| {{Legend0|#ff6b6b|4 - 4.9}}
| {{Legend0|#800000|1 - 1.9}}
|-
| colspan="3" | {{Legend0|#c0c0c0|No Information}}
|}
 
]]
'''ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน''' ({{lang-en|Corruption Perceptions Index: CPI}}) หรือดัชนีการรับรู้การทุจริตจัดอันดับโดย[[องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ]] (Transparency International: TI) ซึ่งเป็นองค์การนานาชาติ ก่อตั้งในประเทศเยอรมนี ได้เริ่มมีการจัดทำดัชนีตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2538]] โดยค่าสูงหมายถึงมีการคอร์รัปชันต่ำ และค่าต่ำหมายถึงมีการคอร์รัปชันสูง โดยในปี 2550 ได้มีการจัดอันดับทั้งหมด 180 ประเทศ เพิ่มจากปี 2546 ที่มี 133 ประเทศ