ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สเตรโตคิวมูลัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มแม่แบบ
บ่มีอะไรมากแล้ว
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Above the Clouds.jpg|thumb|right|300px|ภาพถ่ายทางอากาศของเมฆสเตรโตคิวมูลัส]]
 
'''สเตรโตคิวมูลัส''' ({{lang-en|stratocumulus}}) เป็นเมฆลักษณะทรงกลมขนาดใหญ่ มีสีขาวจนถึงสีเทา<ref>{{cite book |last=Khullar |first=D R |date=2016 |title=Geography Textbook |url=https://books.google.co.th/books?id=OKE_DAAAQBAJ |location=New Delhi, India |publisher=Saraswati House Pvt Ltd |page=151 |isbn=9789350412411 }}</ref> ได้ชื่อมาจาก[[ภาษาละติน]] stratus แปลว่า เป็นชั้นและ cumulus แปลว่า เป็นกองสุมกัน<ref>{{cite web|url=https://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/stratocumulus|title=stratocumulus - definition and meaning|website=Collins Dictionary|accessdate=September 13, 2019}}</ref> สเตรโตคิวมูลัสมีอักษรย่อคือ Sc และสัญลักษณ์ [[ไฟล์:Clouds CL 5.svg|25px]]
 
สเตรโตคิวมูลัสเป็นหนึ่งในเมฆระดับต่ำ ร่วมกับ[[คิวมูโลนิมบัส]] [[คิวมูลัส]]และ[[สเตรตัส]] โดยทั่วไปก่อตัวที่ชั้น[[โทรโพสเฟียร์]] ที่ระดับความสูงต่ำกว่า 6,500 ฟุต (2,000 เมตร) เกิดจาก[[การพาความร้อน]]เนื่องมาจากกระแสลมแปรปรวนที่ยกตัวสูงขึ้น แต่ไม่สามารถพัฒนาในแนวตั้งได้เพราะอากาศด้านบนแห้งและเสถียรกว่า<ref>{{cite web|url=https://www.weatheronline.co.uk/reports/wxfacts/Stratocumulus.htm|title=Weather Facts: Stratocumulus|website=weatheronline.co.uk|accessdate=September 13, 2019}}</ref> ลักษณะเป็นชั้นของสเตรโตคิวมูลัสเกิดจากการผันผวนของอากาศ ส่วนลักษณะเป็นกองเกิดจากการพาความร้อนที่เกิดขึ้น สเตรโตคิวมูลัสเป็นเมฆที่ช่วยสะท้อนแสงอาทิตย์ โดยสามารถสะท้อนแสงอาทิตย์ได้ราว 2 ใน 3 ของแสงอาทิตย์ที่ส่องกระทบในทะเล<ref>{{cite book |last1=Seinfeld |first1=John H. |last2=Pandis |first2=Spyros N. |date=2016 |title=Atmospheric Chemistry and Physics: From Air Pollution to Climate Change |url=https://books.google.co.th/books?id=n_RmCgAAQBAJ |location=Hoboken, United States |publisher=John Wiley & Sons |page=991 |isbn=9781118947401 }}</ref> สเตรโตคิวมูลัสเป็นเมฆที่พบได้ในทุกสภาพอากาศและไม่ก่อให้เกิดฝนตก อย่างไรก็ตาม อาจก่อให้เกิด[[ฝนละออง]]หรือหิมะตกปรอย ๆ<ref name=Met>{{cite web|url=https://www.metoffice.gov.uk/weather/learn-about/weather/types-of-weather/clouds/low-level-clouds/stratocumulus|title=Stratocumulus clouds|website=Met Office|accessdate=September 13, 2019}}</ref>
 
สเตรโตคิวมูลัสมีลักษณะคล้ายเมฆ[[อัลโตคิวมูลัส]] แต่มีขนาดใหญ่กว่าและบางครั้งมีสีเข้มกว่า สเตรโตคิวมูลัสเป็นเมฆที่มักก่อให้เกิดปรากฏการณ์[[รังสีครีพัสคิวลาร์]] ซึ่งเกิดจากแสงอาทิตย์ถูกเมฆบดบังทำให้เกิดเป็นลำแสงพุ่งผ่านช่องว่างของเมฆ<ref>{{cite web|url=https://www.matichon.co.th/uncategorized/news_719078|title=เงาเมฆ & รังสีครีพัสคิวลาร์|author=บัญชา ธนบุญสมบัติ|website=มติชน|date=November 4, 2017|accessdate=September 13, 2019}}</ref><ref>{{cite web|url=https://cloudatlas.wmo.int/crepuscular-rays.html|title=Crepuscular rays|website=International Cloud Atlas|accessdate=September 13, 2019}}</ref> และ[[โคโรนา (ปรากฏการณ์ทางแสง)|โคโรนา]] หรือวงแหวนสีรุ้งที่เกิดจากแสงจันทร์ในเวลากลางคืน<ref>{{cite web|url=http://glossary.ametsoc.org/wiki/Stratocumulus|title=Stratocumulus|website=AMS Glossary|accessdate=September 13, 2019}}</ref>
 
{{commons category|Stratocumulus clouds|สเตรโตคิวมูลัส}}