ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาลไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
 
== ฝ่ายตุลาการ ==
{{บทความหลัก|ศาลไทย}}
ศาลไทยเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจตุลาการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาทุกระดับจำต้องได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ไทย ศาลปฏิบัติการในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ศาลไทยมี 4 ประเภท ได้แก่ [[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]] [[ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)|ศาลยุติธรรม]] [[ศาลปกครอง (ประเทศไทย)|ศาลปกครอง]] และ[[ศาลทหาร (ประเทศไทย)|ศาลทหาร]]
 
[[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย]] (Asian Human Rights Commission) วิจารณ์ว่า ระบบศาลไทย โดยเฉพาะกระบวนการยุติธรรมทางอาญานั้น "เลอะเทอะ" และไม่สามารถสร้างความมั่นใจว่า กระบวนพิจารณาจะดำเนินไปอย่างรวดเร็ดและเป็นธรรม แม้คดีลอบฆ่า[[ประมาณ ชันซื่อ]] ประธานศาลฎีกาเอง ศาลชั้นต้นยังใช้เวลาพิจารณาถึง 15 ปี คือ ตั้งแต่ปี 2536 ถึงปี 2551 ในช่วงดังกล่าว จำเลยต้องขึ้นศาล 461 ครั้ง และถูกผู้พิพากษา 91 คนไต่สวน จำเลยบางคนตายก่อนพิพากษา ส่วนประมาณตายอย่างสงบด้วยโรคปอดติดเชื้อเมื่อปี 2550<ref>M&C, [http://news.monstersandcritics.com/asiapacific/news/article_1282824.php/Human_rights_group_slams_Thailands_judicial_system Human rights group slams Thailand's judicial system], 26 March 2007</ref>
อนึ่ง หลังวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นมา ศาลทหารได้เพิ่มขยายบทบาทและอำนาจหน้าที่ขึ้นมามาก
== การปกครองส่วนท้องถิ่น ==
{{ดูเพิ่มที่|การแบ่งเขตการปกครองของประเทศไทย}}