ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบสุริยะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 42:
}}
{{ใช้ปีคศ}}
'''ระบบสุริยะสวยงาม''' ({{lang-en|Solar System}}) ประกอบด้วย[[ดวงอาทิตย์]]และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ [[ดาวเคราะห์]] 8 ดวงกับ[[ดาวบริวาร|ดวงจันทร์บริวาร]]ที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง<ref>สก็อตต์ เอส. เชพพาร์ด. [http://www.dtm.ciw.edu/sheppard/satellites/ The Jupiter Satellite Page]. ''Carnegie Institution for Science, Department of Terrestrial Magnetism''.</ref> [[ดาวเคราะห์แคระ]] 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง [[ดาวเคราะห์น้อย]] วัตถุใน[[แถบไคเปอร์]] [[ดาวหาง]] [[สะเก็ดดาว]] และ[[ฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์]]
 
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง [[แถบดาวเคราะห์น้อย]] ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และ[[แถบไคเปอร์]]ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขต[[แถบจานกระจาย]] ขอบเขต[[เฮลิโอพอส]] (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่ง[[ลมสุริยะ]]สิ้นกำลังลงเนื่องจาก[[มวลสารระหว่างดวงดาว]]) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของ[[เมฆออร์ต]]
บรรทัด 241:
{{บทความหลัก|แถบไคเปอร์}}
 
แถบไคเปอร์ คือบริเวณของการก่อตัวครั้งแรกในระบบ มีลักษณะเป็นแถบวงแหวนมหึมาของเศษวัตถุกระจัดกระจายคล้ายกับ[[แถบดาวเคราะห์น้อย]] แต่ส่วนมากวัตถุเหล่านั้นเป็นน้ำแข็ง ครอบคลุมพื้นที่ช่วงที่ห่างดวงอาทิตย์ออกมาตั้งแต่ 30-50 หน่วยดาราศาสตร์ สมาชิกในแถบไคเปอร์ส่วนมากเป็นวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ แต่ก็มีวัตถุขนาดใหญ่จำนวนหนึ่งในแถบไคเปอร์ เช่น [[50000 ควาอัวร์|ควาอัวร์]] [[20000 วารูนา|วารูนา]] และ [[90482 ออร์กัส|ออร์กัส]] ที่สามารถจัดประเภทเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]] ประมาณว่า มีวัตถุในแถบไคเปอร์มากกว่า 100,000 ชิ้นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 50 กิโลเมตร แต่มวลรวมของวัตถุในแถบไคเปอร์ทั้งหมดมีเพียงประมาณ 1 ใน 10 หรืออาจเพียง 1 ใน 100 เท่าของมวลโลกเท่านั้น<ref name="Delsanti-Beyond_The_Planets">{{cite web |year=2006 |author=Audrey Delsanti and David Jewitt |title=The Solar System Beyond The Planets |work=Institute for Astronomy, University of Hawaii |url=http://www.ifa.hawaii.edu/faculty/jewitt/papers/2006/DJ06.pdf |format=PDF |accessdate=2007-01-03}}</ref> วัตถุในแถบไคเปอร์จำนวนมากที่มีดาวบริวารของตัวเองหลายดวง และส่วนใหญ่จะมีวงโคจรที่อยู่นอกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก[[ระนาบสุริยวิถี]]
 
วัตถุในแถบไคเปอร์สามารถแบ่งได้อย่างหยาบ ๆ เป็น 2 พวก คือ "[[วัตถุดั้งเดิมในแถบไคเปอร์|แถบดั้งเดิม]]" และ "[[วัตถุพ้นดาวเนปจูนสั่นพ้อง|กลุ่มสั่นพ้อง]]" กลุ่มสั่นพ้องมีวงโคจรที่เชื่อมโยงกับดาวเนปจูน (เช่น 2 รอบต่อ 3 รอบโคจรของเนปจูน หรือ 1 รอบต่อ 2) โดยที่การสั่นพ้องของวงโคจรครั้งแรกเกิดขึ้นในวงโคจรของดาวเนปจูนเอง แถบดั้งเดิมประกอบด้วยวัตถุที่ไม่มี[[การสั่นพ้องของวงโคจร]]กับดาวเนปจูน มีย่านโคจรอยู่ระหว่าง 39.4 - 47.7 หน่วยดาราศาสตร์.<ref>{{cite web |year=2005 |author=M. W. Buie, R. L. Millis, L. H. Wasserman, J. L. Elliot, S. D. Kern, K. B. Clancy, E. I. Chiang, A. B. Jordan, K. J. Meech, R. M. Wagner, D. E. Trilling |work=Lowell Observatory, University of Pennsylvania, Large Binocular Telescope Observatory, Massachusetts Institute of Technology, University of Hawaii, University of California at Berkeley |title=Procedures, Resources and Selected Results of the Deep Ecliptic Survey |url=http://www.citebase.org/fulltext?format=application%2Fpdf&identifier=oai%3AarXiv.org%3Aastro-ph%2F0309251 |accessdate=2006-09-07}}</ref> การจัดประเภทสมาชิกแถบไคเปอร์ดั้งเดิมว่าเป็นพวก[[วัตถุดั้งเดิมในแถบไคเปอร์|คิวบิวาโน]] เกิดขึ้นหลังจากมีการพ้นพบสมาชิกดวงแรกในกลุ่มนี้ คือ 15760 1992 QB<sub>1</sub> เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1992<ref>{{cite web |url=http://sait.oat.ts.astro.it/MSAIS/3/PDF/20.pdf |format=PDF |title=Beyond Neptune, the new frontier of the Solar System |author=E. Dotto1, M.A. Barucci2, and M. Fulchignoni |accessdate=2006-12-26 |date=2006-08-24}}</ref>