ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไข้เด็งกี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
 
== อาการและอาการแสดง ==
ผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกีส่วนใหญ่[[ไม่มีอาการ]] (80%) หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย เช่น เป็นไข้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ<ref name=White10>{{cite journal|author=Whitehorn J, Farrar J|title=Dengue|journal=Br. Med. Bull.|volume=95|pages=161–73|year=2010|pmid=20616106|doi=10.1093/bmb/ldq019}}</ref><ref name=WHOp14/><ref name=Euro10>{{cite journal|author=Reiter P |title=Yellow fever and dengue: a threat to Europe?|journal=Euro Surveill |date=2010-03-11|volume=15|issue=10|pages=19509|pmid=20403310 | url=http://www.eurosurveillance.org/ViewArticle.aspx?ArticleId=19509}}</ref> อีกส่วนหนึ่งมีอาการรุนแรงกว่า (5%) และเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่อาการรุนแรงมากจนเสี่ยงต่อการเสียชีวิต<ref name=White10/><ref name=Euro10/> [[ระยะฟักตัว]]ของโรคอยู่ที่ 3-14 วัน แต่ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน<ref name=Gubler379>[[#refGubler2010|Gubler (2010)]], p. 379.</ref> ดังนั้นสำหรับคนที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาด แต่เดินทางกลับมาจากพื้นที่ระบาด และเมื่อเดินทางกลับแล้ว มีไข้ตั้งแต่หลังวันที่ 14 มีโอกาสน้อยมากที่จะเป็นไข้เลือดออกเด็งกี<ref name=Peads10/> ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่มีอาการไม่ต่างจาก[[หวัด]]หรือ[[กระเพาะอาหารกับลำไส้ไส้อักเสบ]] (ท้องร่วงและอาเจียน) <ref name=India10>{{cite journal|author=Varatharaj A|title=Encephalitis in the clinical spectrum of dengue infection|journal=Neurol. India|volume=58|issue=4|pages=585–91|year=2010|pmid=20739797|doi=10.4103/0028-3886.68655|url=http://www.neurologyindia.com/article.asp?issn=0028-3886;year=2010;volume=58;issue=4;spage=585;epage=591;aulast=Varatharaj}}</ref> แต่มีโอกาสป่วยหนักได้มากกว่าผู้ใหญ่<ref name=Peads10/> แม้อาการระยะแรกจะค่อนข้างไม่รุนแรง แต่จะมีไข้สูงด้วย<ref name=NEJM2012>{{cite journal |author=Simmons CP, Farrar JJ, Nguyen vV, Wills B |title=Dengue |journal=N Engl J Med |volume=366 |issue=15 |pages=1423–32 |year=2012 |month=April |pmid=22494122 |doi=10.1056/NEJMra1110265}}</ref>
[[ไฟล์:Dengue fever symptoms.svg|thumb|300px|alt=Outline of a human torso with arrows indicating the organs affected in the various stages of dengue fever|ภาพแสดงอาการของผู้ป่วยไข้เลือดออก]]
ผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกีส่วนใหญ่[[ไม่มีอาการ]] (80%) หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย เช่น เป็นไข้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ<ref name=White10>{{cite journal|author=Whitehorn J, Farrar J|title=Dengue|journal=Br. Med. Bull.|volume=95|pages=161–73|year=2010|pmid=20616106|doi=10.1093/bmb/ldq019}}</ref><ref name=WHOp14/><ref name=Euro10>{{cite journal|author=Reiter P |title=Yellow fever and dengue: a threat to Europe?|journal=Euro Surveill |date=2010-03-11|volume=15|issue=10|pages=19509|pmid=20403310 | url=http://www.eurosurveillance.org/ViewArticle.aspx?ArticleId=19509}}</ref> อีกส่วนหนึ่งมีอาการรุนแรงกว่า (5%) และเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่อาการรุนแรงมากจนเสี่ยงต่อการเสียชีวิต<ref name=White10/><ref name=Euro10/> [[ระยะฟักตัว]]ของโรคอยู่ที่ 3-14 วัน แต่ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน<ref name=Gubler379>[[#refGubler2010|Gubler (2010)]], p. 379.</ref> ดังนั้นสำหรับคนที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาด แต่เดินทางกลับมาจากพื้นที่ระบาด และเมื่อเดินทางกลับแล้ว มีไข้ตั้งแต่หลังวันที่ 14 มีโอกาสน้อยมากที่จะเป็นไข้เลือดออกเด็งกี<ref name=Peads10/> ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่มีอาการไม่ต่างจาก[[หวัด]]หรือ[[กระเพาะอาหารกับลำไส้อักเสบ]] (ท้องร่วงและอาเจียน) <ref name=India10>{{cite journal|author=Varatharaj A|title=Encephalitis in the clinical spectrum of dengue infection|journal=Neurol. India|volume=58|issue=4|pages=585–91|year=2010|pmid=20739797|doi=10.4103/0028-3886.68655|url=http://www.neurologyindia.com/article.asp?issn=0028-3886;year=2010;volume=58;issue=4;spage=585;epage=591;aulast=Varatharaj}}</ref> แต่มีโอกาสป่วยหนักได้มากกว่าผู้ใหญ่<ref name=Peads10/> แม้อาการระยะแรกจะค่อนข้างไม่รุนแรง แต่จะมีไข้สูงด้วย<ref name=NEJM2012>{{cite journal |author=Simmons CP, Farrar JJ, Nguyen vV, Wills B |title=Dengue |journal=N Engl J Med |volume=366 |issue=15 |pages=1423–32 |year=2012 |month=April |pmid=22494122 |doi=10.1056/NEJMra1110265}}</ref>
 
=== การดำเนินโรค ===