ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 116:
 
== ข้อวิพากษ์วิจารณ์ ==
 
=== การแทรกแซงการเมืองไทยและความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ ===
เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2554 กลุ่ม[[นิติราษฎร์]]จัดการเสวนาวิพากษ์บทบาทกองทัพต่อการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งพันเอก [[อภิวันท์ วิริยะชัย]] ผู้ร่วมเสวนาคนหนึ่ง ว่า ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในโลกที่ทุกครั้งที่มีรัฐประหาร หัวหน้าคณะจะได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นหัวหน้าคณะ จะเห็นว่าเป็นการเกื้อกูลกันระหว่างกองทัพกับสถาบันพระมหากษัตริย์มาตั้งแต่ปี 2490 คณะใดที่ไม่ได้รับการโปรดเกล้า คณะนั้นก็จะเป็นกบฏ<ref>{{cite news| url=http://www.prachatai.com/journal/2011/02/32979 | work= ประชาไท | title=รายงานเสวนา: กองทัพ การเมือง ประชาธิปไตย | date=6 ก.พ. 2554 | accessdate=9 ต.ค. 2557 }}</ref>
 
กองทัพไทย[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร]]รัฐบาลรักษาการพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549<ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/5361512.stm Thai PM deposed in military coup] จากเว็บไซต์ [[บีบีซีนิวส์]], 20 กันยายน พ.ศ. 2549</ref> นอกจากนี้ ยังมีข้อสงสัยว่า ผู้บัญชาการกองทัพไทย อยู่เบื้องหลังการจัดตั้ง[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59|รัฐบาล]][[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551<ref>[http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/thailand/3831672/Thai-army-to-help-voters-love-the-government.html Thai army to 'help voters love' the government] จากเว็บไซต์ [[เดอะเทเลกราฟ]], 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551</ref> และปรากฏเป็นข่าวว่า รัฐบาลและกองทัพไทยร่วมกันออกคำสั่งให้ทหารใช้อาวุธสงครามเข้าสลาย[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ. 2553|การชุมนุมทางการเมือง]]ของ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]]สามครั้ง คือ เมื่อวันที่ 13-14 เมษายน พ.ศ. 2552<ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7997507.stm Army pressure ends Thai protest] จากเว็บไซต์ บีบีซีนิวส์, 14 เมษายน พ.ศ. 2552</ref>, 10 เมษายน<ref>[http://www.theaustralian.com.au/news/world/bullets- killed-thai-red-shirt-protesters/story-e6frg6so-1225852976016 Bullets killed Thai Red-Shirt protesters] จากเว็บไซต์ ดิออสเตรเลียน, 13 เมษายน พ.ศ. 2553</ref> และ 13-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/8681833.stm Deadly clashes as police besiege Bangkok protesters] จากเว็บไซต์ บีบีซีนิวส์, 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553</ref> เป็นผลให้มีผู้ชุมนุมและประชาชน ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ เสียชีวิตเกือบ 100 คน บาดเจ็บกว่า 2,000 คน<ref>[http://www.ems.bangkok.go.th/radmob.html รายงานเหตุการณ์การชุมนุมของกลุ่ม นปช.] จากเว็บไซต์ [[ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน]] [[สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร|สำนักการแพทย์]] [[กรุงเทพมหานคร]]</ref> และยังมีผู้สูญหายอีกไม่ต่ำกว่า 50 คน<ref>[http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=8&contentId=68259 ญาติแจ้งเสื้อแดงหายช่วงการชุมนุม25ราย] จากเว็บไซต์ เดลินิวส์ออนไลน์, 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553</ref> โดยมีเจ้าหน้าที่และทหารได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตจากเหตุการณ์การชุมนุมด้วยเช่นกัน<ref>[http://www.ems.bangkok.go.th/radmob.html รายงานเหตุการณ์การชุมนุมของกลุ่ม นปช.] จากเว็บไซต์ [[ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน]] [[สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร|สำนักการแพทย์]] [[กรุงเทพมหานคร]]</ref> เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ผู้บัญชาการเหล่าทัพประกาศ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]]รัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
 
บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์''เดอะนิวซีแลนด์เฮรัลด์'' วันที่ 12 มกราคม 2558 ว่า "คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองของประเทศไทยเพิ่มการฟ้องคดีอาญาความผิดต่อพระมหากษัตริย์ ไม่ต้องสงสัยว่า คณะทหารฯ จะอ้างว่าเป็นการสนองต่อชาวไทยส่วนใหญ่ซึ่งยังเคารพราชวงศ์ ทว่า ส่วนใหญ่มันชี้ไปยังพันธะซึ่งมาจากการสนับสนุนของพระมหากษัตริย์"<ref>[http://www.nzherald.co.nz/nz/news/article.cfm?c_id=1&objectid=11384953 Editorial: Thai refugee right to push for democracy]</ref>
{{โครงส่วน}}
 
=== การทุจริต ===