ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟฟ้าสถิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9592881 สร้างโดย 223.205.18.147 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ไฟฟ้าสถิต''' ({{lang-en|Static electricity}}) คือความไม่สมดุลของ[[ประจุไฟฟ้า]]ภายในหรือบนพื้นผิวของวัสดุหนึ่ง ประจุยังคงอยู่กับที่จนกระทั่งมันสามารถจะเคลื่อนที่โดยอาศัยการไหลของอิเล็กตรอน ([[กระแสไฟฟ้า]]) หรือมี[[การปลดปล่อยประจุ]] ({{lang-en|electrical discharge}}) ไฟฟ้าสถิตมีชื่อที่ขัดกับ[[กระแสไฟฟ้า|ไฟฟ้ากระแส]]ที่ไหลผ่านเส้นลวดหรือตัวนำอื่นและนำส่งพลังงาน<ref>{{cite book|author= Dhogal| title= Basic Electrical Engineering, Volume 1| year=1986| publisher=Tata McGraw-Hill|page=41| url=http://books.google.com/books?id=iIAisqtIeGYC&pg=PA41| isbn= 978-0-07-451586-0}}</ref>
{{สำหรับ|วิทยาศาสตร์ของโก้เพชรไฟฟ้าสถิต|สถิตยศาสตร์ไฟฟ้า}}
[[ไฟล์:E esfera maciza.JPG|thumb|สนามไฟฟ้าสถิตที่เกิดจากการกระจายตัวของประจุ (+) ส่วนเกิน]]
[[ไฟล์:Static on the playground (48616367).jpg|thumb|300px|right|เมื่อผมของเด็กคนนี้สัมผัสกับแผ่นไถล ประจุบวกจะถูกสร้างสะสมขึ้นจนทำให้ผมแต่ละเส้นผลักกันเอง ผมยังสามารถดึงดูดกับผิวหน้าแผ่นไถลที่มีประจุลบอีกด้วย]]
{{ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า}}
'''ไฟฟ้าสถิต''' ({{lang-en|Static electricity}}) คือความไม่สมดุลของ[[ประจุไฟฟ้า]]ภายในหรือบนพื้นผิวของวัสดุหนึ่ง ประจุยังคงอยู่กับที่จนกระทั่งมันสามารถจะเคลื่อนที่โดยอาศัยการไหลของอิเล็กตรอน ([[กระแสไฟฟ้า]]) หรือมี[[การปลดปล่อยประจุ]] ({{lang-en|electrical discharge}}) ไฟฟ้าสถิตมีชื่อที่ขัดกับ[[กระแสไฟฟ้า|ไฟฟ้ากระแส]]ที่ไหลผ่านเส้นลวดหรือตัวนำอื่นและนำส่งพลังงาน<ref>{{cite book|author= Dhogal| title= Basic Electrical Engineering, Volume 1| year=1986| publisher=Tata McGraw-Hill|page=41| url=http://books.google.com/books?id=iIAisqtIeGYC&pg=PA41| isbn= 978-0-07-451586-0}}</ref>
 
ประจุไฟฟ้าสถิตสามารถสร้างขึ้นได้เมื่อไรก็ตามที่สองพื้นผิวสัมผัสกันและแยกจากกัน และอย่างน้อยหนึ่งในพื้นผิวนั้นมีความต้านทานสูงต่อกระแสไฟฟ้า (และดังนั้นมันจึงเป็น[[ฉนวนไฟฟ้า]]) ผลกระทบทั้งหลายจากไฟฟ้าสถิตจะคุ้นเคยกับคนส่วนใหญ่เพราะผู้คนสามารถรู้สึก, ได้ยิน, และแม้แต่ได้เห็นประกายไฟเมื่อประจุส่วนเกินจะถูกทำให้เป็นกลางเมื่อถูกนำเข้ามาใกล้กับ[[ตัวนำไฟฟ้า]]ขนาดใหญ่ (เช่นเส้นทางที่ไปลงดิน) หรือภูมิภาคที่มีประจุส่วนเกินที่มีขั้วตรงข้าม (บวกหรือลบ) ปรากฏการณ์ที่คุ้นเคยของช็อกจากไฟฟ้าสถิต หรือที่เจาะจงมากขึ้นคือ[[การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิต]] ({{lang-en|electrostatic discharge}}) จะเกิดจากการเป็นกลางของประจุ
 
ประจุไฟฟ้าเป็นปริมาณทางไฟฟ้าปริมาณหนึ่งที่กำหนดขึ้นธรรมชาติ ของสสารจะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ  ที่มีลักษณะและ มีสมบัติเหมือนกันที่เรียกว่า อะตอม(atom)ภายในอะตอม จะประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน3ชนิดได้แก่  โปรตอน (proton)  นิวตรอน (neutron) และ อิเล็กตรอน (electron)โดยที่โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวกกับนิวตรอนที่เป็นกลางทางไฟฟ้ารวมกันอยู่เป็นแกนกลางเรียกว่านิวเคลียส (nucleus) ส่วนอิเล็กตรอน มี ประจุ ไฟฟ้าลบ จะอยู่รอบๆนิวเคลียส