ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20:
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' เป็น[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ฉบับที่ 20 มีที่มาจากการตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 เพื่อจัดทำร่างฯ ฉบับใหม่ ประกอบด้วยสมาชิก 21 คน มี[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15"/> เมื่อร่างเสร็จแล้ว มี[[การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559|การลงประชามติ]]ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งผู้มาใช้สิทธิร้อยละ 61.35 เห็นชอบ [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 หลังมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับผ่านประชามติตามพระบรมราชวินิจฉัย
 
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 250 คนที่มาจากการแต่งตั้งหรือคัดเลือกโดย คสช. ทั้งหมด "แก้ไขสมาชิกวุฒิสภา250คนต้องมาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนเท่านั้น"การรณรงค์ให้ความรู้และให้ลงมติคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญถูกปิดกั้นสิทธิการแสดงออก และคำถามพ่วงในประชามติมีความซับซ้อนเข้าใจยาก ซึ่งมีผลให้สมาชิกวุฒิสภามีอำนาจร่วมลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีได้เช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่วนเนื้อหาอื่น เช่น การแก้ไขให้ "สิทธิเสรีภาพ การธุจริตคอร์รัปชั่น ความเหลี่ยมล้ำ แซงชั่น โปรงใสผลตรวจสอบไวเป็นธรรมเข้มงวด แก้ไขกฏหมายส่วนที่ก่อเกิดความแตกแยกโดยรัฐสภา " หลายประการของประชาชนกลายเป็น "หน้าที่" ของรัฐ ตลอดจนบทเฉพาะกาลที่รับรองบรรดาประกาศและคำสั่งของ คสช.
 
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์และมีการเรียกร้องให้แก้ไขเพิ่มเติมอยู่หลายครั้ง แต่จนถึงปัจจุบันยังมีการแก้ไขเพิ่มเติมเพียงครั้งเดียวเพื่อเปลี่ยนระบบการเลือกตั้ง ส่วนประเด็นยกเลิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้งซึ่งเป็นข้อเรียกร้องสำคัญข้อหนึ่งของ[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564]] ไม่ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา
บรรทัด 176:
ในเดือนกันยายน 2565 ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ 4 ร่างซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิบุคคลและชุมชน สิทธิและเสรีภาพของประชาชน คุณสมบัติและที่มาของนายกรัฐมนตรีและการตัดอำนาจของสมาชิกวุฒิสภาในการเลือกนายกรัฐมนตรี ซึ่งถึงแม้จะได้รับเสียงเห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภา แต่เสียงเห็นชอบของสมาชิกวุฒิสภาไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด<ref>{{cite news |title=มติรัฐสภา คว่ำ 4 ร่างแก้รธน.เปิดทางส.ว.เลือกนายกฯต่อ |url=https://siamrath.co.th/n/380539 |accessdate=7 September 2022 |work=สยามรัฐ |date=7 September 2022 |language=th}}</ref>
 
== ปัญหาสืบเนื่อง ีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีี ==
รัฐธรรมนูญกำหนดห้ามบุคคลดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีรวมกันเกิน 8 ปี แต่เรื่องการนับวาระของประยุทธ์ จันทร์โอชาเกิดปัญหาขึ้นว่าจะนับแบบใด เนื่องจากต่างฝ่ายต่างตีความกันไปคนละแบบ จนเกิดปัญหาข้อกฎหมายในปี 2565<ref>{{cite news |title=Prayuth Chan-ocha: Thai court suspends PM and coup leader |url=https://www.bbc.com/news/world-asia-62656348 |access-date=26 August 2022 |work=BBC News |date=24 August 2022}}</ref> ด้าน[[ทักษิณ ชินวัตร]]เชื่อว่าผู้ร่างรัฐธรรมนูญเขียนขึ้นมาเพื่อต้องการกีดกันเขาคนเดียว<ref>{{cite news |title=นายกฯ 8 ปีไม่ต้องให้ศาลตีความ แนะ “ประยุทธ์” ออกตามกฎกติกาเท่กว่าเยอะ |url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2474855 |accessdate=5 September 2022 |work=ไทยรัฐ |date=17 August 2022 |language=th}}</ref>