ผู้ใช้:Sarinya Phaengthaisong/กระบะทราย

ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐและเอกชน

แก้

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐและเอกชน

แก้

ความสัมนธ์ระหว่างภาครัฐและเอกชนเป็นเหมือนบทบาทหน้าที่ของทางรัฐบาลที่ต้องให้ความสนับสนุนการลงทุนกิจการของเอกชนเสมือนภาครัฐที่ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมกับภาเอกชนเข้าไปส่งเสริมให้การสนับสนุนการลงทุนพัจะต้องหัวก็ชนช่วยส่งเสริมการประกอบธุรกิจต่างๆของเพื่อนก็ชวนอาทิการลงทุนธุรกิจอุตสาหกรรมการไฟฟ้าการประปาทางภาครัฐจะต้องให้งบประมาณไปลงทุนเพราะเอกชนไม่มีงบประมาณมากพอที่จะลงทุนเองการที่รัฐให้งบประมาณสนับสนุนเอกชน เพื่อเป็นการกระตุ้นและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตัวขึ้นมากเอกชนประกอบธุรกิจเช่นด้านอุตสาหกรรมมีการใช้แรงงานก็จะทำให้เกิดการสร้างงานไม่มีรายได้หรือการซื้อขายใช้จ่ายส่งผลให้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นเวียงจันทน์ต่อๆไปเติบโตได้เร็วจึงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและประชาชนความสัมพันธ์ยังไม่ได้เป็นการพึ่งพากันระหว่างภาครัฐและเอกชนหากใครอีกแล้วชนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐจะไม่สามารถดำเนินการประกอบธุรกิจต่างๆเกิดผลกำไรมากได้เพราะการประกอบธุรกิจต้องเสียค่าใช้จ่ายและใช้งบประมาณสูงมากจึงต้องพึ่งพารัฐในการดำเนินการกิจการนั้นๆ[1]

รัฐ

แก้

จากความเป็นจริงแล้วคำว่ารัฐยังไม่มีการสรุปเนื้อหาข้อแน่นอนได้มีคนให้คำนิยามคำว่ารัฐมากมายแตกต่างกันไปนิยามของคำว่ารัฐในแต่ละคนก็จะขึ้นอยู่กับทัศนคติความคิดเห็นต่างกันออกไปอีก เมื่อถามนักประวัติศาสตร์เกี่ยวกับคำว่ารัฐบางคนอาจจะบอกว่า รัฐในตัวตน เป็นความจริง (อานนท์ อาภาภิรมณ์2528 ;12 ) การมองรัฐเป็นจินตนาการเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นในแค่เฉพาะความนึกคิดไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้และยังมีนักกฎหมายให้มีนิยามจำกัดความของคำว่า รัฐว่าเป็นนิติบุคคล หมายถึงเป็นผู้ที่มีอำนาจมีสิทธิหน้าที่ในกฏหมายดังนั้นจะเห็นว่าคำสั่งสัตว์หรือนิยามของคำว่ารัฐมีมากมายองค์ประกอบของรัฐรัฐมีนิยามคำว่ากัดความมากมายแต่คนส่วนมากมีองค์ประกอบด้วยกันทั้งหมด 4 องค์ประกอบ ได้แก่

  1. ประชากร ประชากรและถูกว่าต้องประกอบไปด้วยประชากรที่มีที่อยู่อาศัยมีแหล่งทำมาหากินภายในขอบเขตของดินแดนที่มีขอบเขตอย่างแน่นอนหากประชากรจะต้องเดินทางเร่ร่อนไปแบบเชิงเทราก็ไม่สามารถถือได้ว่าเป็นรัฐสำหรับตัวหนูประชากรนั้นไม่เป็นปัญหาต่อความเป็นนักอย่างไรก็ตามจำนวนประชากรแต่ละรัฐมีความแตกต่างกันมากมายเช่นนัดวันติดกันมีพลเมืองถึง 100 ถึง 1000 คนสาระอเมริกามีประชากร 300,000,000 คนอินเดียนประชากร 800,000,000 คนในขณะที่จีนประชากรมากกว่าหนึ่งทำร้ายคนไปถึงได้ว่าประชากรจำนวนมากหรือน้อยประการใดก็ไม่เป็นข้อสำคัญในการเลือนาเป็นรัฐหรือไม่
  2. ดินแดน ดินแดนประชากรต้องอาศัยอยู่ในดินแดนจึงเป็นส่วนประกอบที่สำคัญประการหนึ่งของรัฐแต่ดินแดนถือว่าเป็นองค์ประกอบของรัฐได้จะต้องเป็นอาณาเขตชัดเจนแน่นอนคำว่าดินแดนนี้รวมไปถึงสิ่งที่เป็นดินเป็นอาจารย์แล้วพื้นดินและสันติกับชายทะเลของดินแดนรวมไปถึงทะเลห่างจากฝั่งไป 3 ไมล์แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น 12 ไมล์ทะเลดินแดนในที่นี้จะต้องมีการปักปันเขตแดนที่แน่นอนโดยการกำหนดสนธิสัญญาเป็นอนุสัญญาที่ได้รับการยอมรับจากประเทศอื่นๆด้วย
  3. รัฐบาล รัฐบาลคือองค์การและผู้แทนขององค์การที่ดำเนินงานของรัฐซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ดำเนินงานตามหลักการนโยบายสาธารณะทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามหลักการที่สนองต่อเจตนารมณ์ของสาระชนจึงถือได้ว่าทั้งฝ่ายนิติบัญญัติบริหารตุลาการและฝ่ายปกครองต่างเป็นส่วนของรัฐบาลทั้งสิ้นการเป็นรัฐบาลนั้นจำต้องได้รับความยินยอมของประชาชนยุติธรรมของประชาชน
  4. อำนาจอธิปไตย อำนาจอธิปไตยองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของความเป็นรัฐคืออำนาจอธิปไตยก็คือเป็นที่รวมทำหน้าที่ผู้ปกครองหรือรัฐบาลได้ใช้เพื่อการบริหารประเทศการที่รัฐมีอำนาจเอาอะไรนี่เองทำให้รัฐสภามีอำนาจในองค์กรใดใดทั้งปวงในสังคม ความหมายง่ายของอำนาจไปสู่การเป็นเลิกงานคงมาที่มีไม่ถนัดเรียนเสร็จเด็ดขาดที่จริงคำว่าอำนาจ ที่ไม่จำกัดแต่ให้จริงแล้วก็เป็นกำนันที่จำกัดอยู่กับเจตนารมณ์ของประชาชนผู้ที่เป็นเจ้าของอธิปไตยโดยแท้จริง แบ่งเป็น 2ประเภท คือ
  • อธิปไตยภายใน
  • อธิปไตยภายนอก[2]
เอกชน
แก้

เอกชนเป็นกลุ่มบุคคลที่เป็นนิติบุคคลและไม่เป็นนิติบุคคลรวมกลุ่มกันเป็นสมาคมชมรมมูลนิธิเป็นองค์กรใดใดก็ตามที่จัดขึ้นหรือก่อตั้งโดยภาคเป็นการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องแต่ไม่ได้เป็นแสวงหาผลกำไรผลประโยชน์หรือรายได้มาแบ่งปันมีความยุติธรรมอยู่ระหว่างกลางทางการเมืองได้ยังไม่และยังไม่สมัครสมาชิกพรรคการเมืองใดใดทั้งสิ้น

[3]

ธรรมมาภิบาลในองค์กรภาครัฐและเอกชน
แก้

ความหมายธรรมาภิบาล

เป็นหลักธรรมที่ใช้ในการปกครอง การควบคุมดูแลจัดการและการบริหารงานธุรกิจต่างๆ เพื่อให้การปกครองมีคุณธรรมจริยธรรมและถูกต้องชอบธรรมและรวมถึงเกิดความยุติธรรม สามารถใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน ในปัจจุบันธรรมาภิบาลถูกนำมาใช้ในกาารบริหารงานอย่างมาก เพราะพนักงานและบุคคลที่ทำงานร่วมกันทำด้วยความมีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต และขยันในหน้าที่ไม่เอารัดเอาเปรียบกินแรงกัน จึงส่งผลช่วยทำให้องค์กร หน่วยงาน หรือบริษัทมีคุณภาพ และมีศักยภาพยิ่งขึ้น และยังช่วยให้การประกอบกิจการหรือธุรกิจนั้นๆเติบโต และพัฒนาขึ้นเรื่อยๆเพราะการมีความเป็นธรรม ซื่อสัตย์ ทำให้นักลงทุนไว้วางใจจึงกล้าลงทุนด้วยและยังสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน

หลักมี 6 ประการ ดังนี้

1.หลักนิติธรรม คือ การกระทำปฏิบัติตามกฎระเบียบ กฎหมาย กฎเกณฑ์ และไม่กระทำนอกเหนือหรือตามใจและอำนาจอิทธิพลของตน

2.หลักคุณธรรม คือ การเห็นดีเป็นชอบ และเชื่อมั่นความถูกต้อง ชอบธรรม และปฏิบัติตามค่านิยมที่ดี มีความเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบและขยันทำงาน

3.หลักความโปร่งใส คือ ประพฤติตนตามความถูกต้องสุจริต ไม่มีความลักหลอกลวง ประชาชน สามารถตรวจสอบหาข้อมูลความเท็จจริงได้อย่างสะดวก ซึ่งส่งเสริมให้ไม่เกิดความทุจริตในทั้งภาครัฐและเอกชน

4.หลักความมีส่วนร่วม คือ การที่ประกาศหรือแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้รับรู้เรื่องราวด้วย ร่วมเสนอแนวคือออกความคิดเห็น และได้มีส่วนร่วมกิจกรรม ร่วมคิดเสนอแนะและช่วยตัดสินใจ

5.หลักความรับผิดชอบ พนักงานตลอดจนผู้บริการ ต้องรู้จักหน้าที่ของตนเอง รับผิดชอบปรับปรุงแก้ไขในความบกพร่องของตนเอง

ุ6.หลักความคุ้มค่า ผู้ที่เป็นคนบริหารจัดการจะต้องคิดวิเคราะห์ว่ามีความจำเป็นมากน้อยแค่ไหนในการใช้จ่ายทรัพยากร โดยต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ ความคุ้มค่า และความประหยัดมากที่สุด[4]

ความร่วมมือภาครัฐและเอกชน
แก้

ความร่วมมือภาครัฐและเอกชน

ความร่วมมือภาครัฐและเอกชน หมายถึง การที่ภาครัฐอนุญาตหรือยอมรับให้ภาคเอกชนมาร่วมลงทุนกับภาครัฐ และเป็นการให้ภาคเอกชนมีสิทธิดำเนินกิจการของรัฐทั้งเชิงพาณิชย์และสังคม ที่ว่านั้นจะต้องเป็นของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของภาครัฐที่มีบทบาทอำนาจตามที่กฎหมายกำหนดไว้

ความสำคัญ

การลงทุนของภาครัฐมีความจำเป็นและสำคัญมากเพราะจะส่งผลต่อเศรษฐกิจประเทศไทย ซึ่งการลงทุนนี้ถือเป็นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจ เพื่อที่จะเป็นการสร้างประสิทธิภาพขีดความสามารถการแข่งขันกันระหว่างประเทศและช่วยให้เพิ่มศักยภาพในการผลิตให้แข็งแกร่ง มีระยะยาว เนื่องจากการลงทุนต้องใช้งบประมาณเงินจำนวนมากและอาจระดมทุนมาประกอบกิจการ อาจไม่เพียงพอภาครัฐจึงไม่สามารถลงทุนเพียงฝ่ายเดียวได้ จึงต้องลงทุนร่วมกับภาคเอกชน เพื่อที่จะถ่ายโอนความเสี่ยงให้กับเอกชนและได้ให้ภาคเอกชนร่วมลงทุนโครงการ PPP (Public Private Partnership) ซึ่งเป็นโครงการเกี่ยวกับถนน รถไฟ ประปา ไฟฟ้า เป็นต้น

ประโยชน์

โครงการ PPP หรือการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนนั้นเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต มีทางเลือกมากขึ้นและบริการต่างๆขยายมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย โครงการ PPP ยังเป็นที่ยอมรับทั่วโลกว่าลดข้อจำกัดของงบประมาณและหนี้สาธารณะและให้การลงทุนมีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อความต้องการ[5]

กิจกรรมของภาครัฐและเอกชน
แก้
กิจกรรมของภาครัฐและเอกชน

ในอดีตเราเรียกภาครัฐว่า หลวงส่วนเอกชนนั้นจะเรียกว่าราษฎร์ ปัจจุบันมีควการบัญญัติคำใหม่คือการบริหารงานของภาครัฐและภาคเอกชน ปัจจุบันมีกิจกรรมที่ภาครัฐและภาคเอกชนต้องรับผิดชอบร่วมกันในยุคที่ประเทศพัฒนาไปในด้านต่างๆองค์กรเอกชนเช่นห้างร้านที่มีความรู้ความสามารถและมีทรัพยากรพอที่จะทำกิจกรรมต่างๆที่ทำให้มีความเป็นอยู่ที่ดีของประชากรโดยเฉพาะด้านการบริการที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศและพลวัตทางเศรษฐกิจเส้นแบ่งของรัฐและเอกชนจึงลดน้อยลงและในหลายส่วนไม่สามารถแยกแยะได้ อย่างเห็นได้ชัดเมื่อได้ฟังคนที่ยังขาดการพัฒนาหรือทั่วไปว่าเราจะมีบทบาทดังนี้หนึ่งกิจกรรมที่รัฐต้องกระทำเองหรือบริหารเองเช่นกิจกรรมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเกิดขึ้นจากหน่วยการเมืองคือภาครัฐและหน่วยหลักฟนี้กระทรวงต่างประเทศของแต่ละประเทศต้องรับผิดชอบโดยตรงนอกจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแล้วการป้องกันประเทศก็เป็นกิจกรรมที่ภาครัฐผูกขาดซึ่งเป็นกิจกรรมที่ภาครัฐต้องกระทำเองเช่นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเกิดจากการแข่งงานรัฐเป็นหลักส่วนเอกชนก็มีบทบาทมีสิทธิ์เข้าร่วมได้โดยตรงในเรื่องนี้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเช่นภาคอุตสาหกรรมการเงินเป็นต้นเอกชนมีสิทธิ์ได้โดยตรง

[6]

สรุปผลการดำเนินงานบูรณาการความร่วมมือภาครัฐและเอกชน
แก้
การที่ให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทหรือมีสิทธิกระทำร่วมกับภาครัฐช่วยส่งเสริมให้มีความมั่นคงและมี-ความสามารถในการสองชั้นของประเทศและช่วยสัตว์สนุนกำหนดแนวทางการบูรณาการความร่วมมือภาครัฐและเอกชนโดยหลักการบริหารงานจังหวัดมุ่งเน้นให้ทุกๆภาคส่วนหรือว่าจะขายสังคมรัฐเอกชนการปกครองท้องถิ่นและประชาชนให้มีสิทธิได้ร่วมในการเสริมสร้างศักยภาพเพิ่งคิดความสามารถในการแบ่งตัวด้านเศรษฐกิจดำเนินการแก้ไขปัญหารวมถึงช่วยให้พัฒนากลุ่มจังหวัดโดยหลักแล้วเพื่อตอบสนองความต้องการและเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนในประเทศซึ่งเป็นเป้าหมายที่สูงสุดในการพัฒนาต่างๆนี้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและขาดความสามารถและร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน

ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาการบริหารบูรณาการ

ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาการบริหารบูรณาการของผู้ว่าราชการจังหวัดผู้บริหารการค้าจังหวัดสภาอุตสาหกรรมจังหวัดและชมรมธนาคารพาณิชย์จังหวัดเพื่อสนับสนุนบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการความเป็นมารัฐบาลโยบายให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหลานสูงสุดของจังหวัดจะต้องบริหารโดยผสมผสานเป้าหมายการพัฒนาการสร้างความร่วมมือในการทำงานเป็นการสร้างโอกาสร่วมพัฒนากลุ่มจังหวัดและจะเป็นความสำคัญในการสนับสนุนการบริหาร หลักการในความคิดเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้มีโอกาสที่ทัดเทียมในการเห็นการเปลี่ยนแปลงมุมมองเพื่อหาข้อสรุปร่วมกันที่เป็นฉันทามติของที่ประชุมเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องพร้อมใช้ชีวิตเกี่ยวกับแนวคิดการวางแผนยุทธศาสตร์แต่ละคำกรกระตุ้นให้เกิดมองใหม่ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างศักยภาพของภาครัฐหรือเอกชนในการเรียกประเทศเพื่อนบ้าน[7]
  1. ลิขิต ธีรเวคิน,30 มิถุนายน 2547,ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐและเอกชน,ค้นได้จากhttp://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9470000015477
  2. ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร, 2548, รัฐ, หน้า 28
  3. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำกรุงเทพมหานคร,2559,เอกชน, ค้นได้จากhttp://www2.ect.go.th/about.php?Province=bangkok&SiteMenuID=392
  4. insulin,2013,ธรรมมาภิบาลในองค์กรภาครัฐ, ค้นได้จาก https://medinfo.psu.ac.th/pr/WebBoard/readboard.php?id=20713
  5. ความร่วมมือภาครัฐและเอกชน, ค้นได้จาก http://library2.parliament.go.th/ebook/content-ebspa/pbo-report3-2559.pdf
  6. ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน,15 มีนาคม 2549,กิจกรรมของภาครัฐและเอกชน, ค้นได้จาก,http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9490000035587
  7. สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย,2547,สรุปผลการดำเนินงานบูรณาการความร่วมมือภาครัฐและเอกชน ประจำปีงบประมาณ2547 ,หน้า9