ผู้ใช้:Phromkham/ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ

ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Broader บรรทัดที่ 30: attempt to call field '_formatLink' (a nil value)

หน่วยฐาน SI
สัญลักษณ์ ชื่อ ปริมาณ
A แอมแปร์ กระแสไฟฟ้า
K เคลวิน อุณหภูมิพลหวัติ
s วินาที เวลา
m เมตร ความยาว
kg กิโลกรัม มวล
cd แคนเดลา ความเข้มของการส่องสว่าง
mol โมล ปริมาณของสาร
มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ ไลบีเรีย, พม่า และสหรัฐอเมริกา

บทนำ แก้

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI ย่อมาจากภาษาฝรั่งเศษ คำว่า Système international (d'unités)) เป็นรูปแบบที่ทันสมัยของระบบเมตริก และยังเป็นระบบการวัดที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ประกอบด้วยระบบหน่วยวัดที่มีสอดคล้องกัน สร้างขึ้นจากหน่วยฐาน 7 หน่วย ได้แก่ แอมแปร์ เคลวิน วินาที เมตร กิโลกรัม แคนเดลา และโมล และชุดของคำนำหน้าหน่วยหรือคำอุปสรรค จำนวน 20 คำ เพื่อใช้แทนค่าพหุคูณหรือเศษส่วนของหน่วย ระบบนี้ยังระบุถึงหน่วยอนุพัทธ์ อีก 22 หน่วย เช่น ลูเมน และวัตต์ สำหรับปริมาณทางกายภาพทั่วไปอื่น ๆ

หน่วยฐานเป็นค่าคงที่ของธรรมชาติ เช่น ความเร็วแสง และจุดร่วมสามของน้ำ ซึ่งสามารถสังเกตและวัดได้อย่างแม่นยำจากแบบจำลองต้นแบบระหว่างชาติของปริมาณนัั้น ๆ เช่น มวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีลักษณะเป็นทรงกระบอกสร้างขึ้นจากโลหะเจือของแพลทินัม - อิริเดียม ซึ่งปกติจะมีมวลเท่ากับน้ำที่จุดเยือกแข็งปริมาณ 1 ลิตร แต่ทั้งนี้เสถียรภาพของการนิยามหน่วยเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงอย่างมาก จึงได้มีความพยายามที่จะเสนอเพื่อแก้ไขคำนิยามของหน่วยฐานทั้งหมดแง่ของค่าคงที่ตามธรรมชาติ และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[ต้องการอ้างอิง] และยังมีหน่วยอนุพัทธ์เป็นหน่วยที่ถูกนิยามขึ้นจากหน่วยฐานอื่น ๆ ซึ่งถูกนำมาใช้เพื่อความสะดวกในการวัดปริมาณที่หลากหลาย

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาระบบหน่วยวัดให้มีความแม่นยำมากขึ้นโดยผ่านข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึงหน่วยที่ได้รับการนิยามล่าสุดคือ คาทัล ที่ถูกนิยามขึ้นใน พ.ศ. 2542

ความน่าเชื่อถือของระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศไม่ได้ขึ้นอยู่กับมาตรฐานการวัดของหน่วยฐานที่มีความแม่นยำในแง่ของค่างคงที่ตามธรรมชาติทางกายภาพเพียงเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความละเอียดของค่าคงที่เหล่านั้นด้วย ชุดของค่าต้นแบบที่ถูกแก้ไขมห้มีเสถียรภาพมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ในปี่ พ.ศ. 2526 ความเร็วแสง

หน่วยและคำอุปสรรค แก้

Lexicographic conventions แก้

ระบบระหว่างชาติของปริมาณ แก้

Realisation of units แก้

Evolution of the SI แก้

ประวัติ แก้

ดูเพิ่ม แก้

เชิงอรรถ แก้

อ้างอิง แก้

อ่านเพิ่มเติม แก้

ลิงก์ภายนอก แก้