ผู้ใช้:Janejira Sanphawang/กระบะทราย

การปกครองท้องถิ่นของประเทศฝรั่งเศส

1.ประวตัิและข้อมูลโดยย่อ แก้

ฝรั่งเศส หรือ สาธารณะรัฐฝรั่งเศส มีศูนยก์ลางต้งัอยภู่ ูมิภาคยุโรปตะวันตก และประกอบ ไปดว้ยดินแดนและเกาะอื่นๆ โดยประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกบั ประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก อิตาลี โมนาโกเยอรมนั สวติเซอร์แลนด์อนัดอร์ราและสเปน ท้งัน้ีประเทศฝรั่งเศสยงัมีดินแดน โพน้ ทะเล ทา ใหม้ี อาณาเขตติดกบั ประเทศบราซิล ซูรินาม และซินตม์ าร์เตินของเนเธอร์แลนด์นอกจากน้นั ประเทศฝรั่งยงั เชื่อมกบั สหราชอาณาจกัรทางอุโมงคช์ ่องแคบองักฤษ โดยประเทศฝรั่งเศสมีเมืองหลวงชื่อกรุงปารีส มีภาษา ราชการคือภาษาฝรั่งเศสโดยแบ่งการปกครองออกเป็นสองการปกครองไดแ้ก่สาธารณะรัฐเดี่ยวก่ึง ประธานาธิบดีเขา้ร่วมสหภาพยโุ รปวนั ที่25 มีนาคม พ.ศ.2500 มีพ้ืนที่รวมท้งัหมด632,834 ตารางกิโลเมตร มีประชากรท้งัหมด64,102,140 คน ใช้สกุลเงินยูโร <ref>http://www.chaiwbi.com/0drem/web_children/2545/m5605/2hand.html>

2.รูปแบบการองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น แก้

เทศบาลเป็นหน่วยงานการปกครองทอ้งถิ่นระดบัรากฐานที่เก่าแก่และเล็กที่สุดเมื่อเทียบกบั ประเทศอื่นๆแล้ว โดยปัจจุบันมีจ านวน36,580แห่งและ183แห่งในจงัหวดัโพน้ ทะเล มีจา นวนสมาชิกสภา โดยมาจากการเลือกต้งั 550,000คน โดยเทศบาลส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศสจะเป็นลกัษณะเมืองขนาดเล็ก และอยใู่ นพ้ืนที่ชนบทและมีประชากรต่า กวา่ 1500คน ซ่ึงแบ่งเทศบาลหรือคอมมูนไดอ้อกเป็น2ประเภทคือ เทศบาลขนาดเล็กและขนาดกลาง มีประชากรนอ้ยกวา่ 20,000คน โดยเทศบาลขนาดเล็กและขนาด กลางจะมีลกัษณะชุมชนเป็นเมืองขนาดเล็กหรือขนาดกลาง เป็นหมู่บา้นตามชนบท ดว้ยมีขอ้จา กดัทาง ทรัพยากรและขนาดทา ให้ตอ้งพ่ึงพาจากองคก์รปกครองในระดบั ที่สูงกวา่ เทศบาลขนาดใหญ่จะอยใู่ นชุมชนเมืองมีศกัยภาพและทรัพยากรท้งัการงานและการปกครองต่างๆ โดยไม่จา เป็นที่ตอ้งพ่ึงองคก์รปกครองต่างๆ จึงสามารถจดัทา บริการสาธารณะไดอ้ยา่ งหลากหลาย จังหวัดเป็นองคก์รระหวา่ งกลางที่เชื่อมโยงการปกครองระดบั ทอ้งถิ่นเขา้กบั ส่วนกลางและยงั กลายเป็นการปกครองส่วนภูมิภาคที่ดา รงอยคู่ ู่กบัฝรั่งเศส โดยอยภู่ ายใตก้ารบริหารของผวู้า่ ราชการ จังหวัดซ่ึงแต่งต้งัจากส่วนกลาง ต่อมาภายหลงักระบวนการกระจายอา นาจในตน้ ทศวรรษที่1980 พ้ืนที่ จงัหวดัก็ไดม้ีสถานะใหม่เป็นหน่วยการปกครองทอ้งถิ่นซอ้ นทบัอยกู่ บัการปกครองส่วนภูมิภาคเมื่อ รัฐบาลไดม้ีการโอนอา นาจใหก้ารบริหารกิจการสาธารณะต่างๆใหอ้ยภู่ ายใตข้องสภาจงัหวดั ที่มาจากการ เลือกต้งัของประชาชนในฐานะผวู้า่ ราชการก็ถูกแทนที่โดยสภาจงัหวดั โดยมีงบประมาณ อา นาจหนา้ที่ใน การดูแลแยกออกมาจากจงัหวดัในฐานะการบริหารงานส่วนภูมิภาค ภาคจดัต้งัเพื่อกระจายภารกิจและอา นาจหนา้ที่ที่ซ่ึงรวมอยูศ่ ูนยก์ลางความพยายามจดัต้งัภาคให้ เป็นเขตการแกครองคร้ังแรกเกิดข้ึนเมื่อค.ศ.1969 โดยปัจจุบันประเทศฝรั่งเศสมีภาคท้งัสิ้น 22แห่งและอีก 4แห่งในจงัหวดั โพ้นทะเล มีลกัษณะเป็นหน่วยการปกครองทอ้งถิ่นในโครงสร้างส่วนบน เพื่อทา หนา้ที่ ดา้นการวางแผนและยทุ ธศาสตร์ในระดบั ทอ้งถิ่น และเรียกวา่ เป็นองคก์รพี่เล้ียงเพื่อทา หนา้ที่วางกรอบ สนบั สนุนและและจดัหาทรัพยากรที่จา เป็นต่างๆใหก้ บัจงัหวดัและเทศบาลโดยถูกวางไวใ้หเ้ป็นองคก์รใน ระดับปฏิบัติการ การปกครองทอ้งถิ่นรูปแบบพิเศษ ประเทศฝรั่งเศสไดม้ีการจดั ต้งัการปกครองทอ้งถิ่นรูปแบบพิเศษ เพื่อทา หนา้ที่ในเขตเมืองใหญ่ๆที่มีจา นวนประชากรมากและมีความเป็นชุมชนเมืองสูง ซ่ึงประกอบไปดว้ย การปกครองส่วนทอ้งถิ่นในนครปารีสและการปกครองส่วนทอ้งถิ่นในเขตเมืองใหญ่อีกสองแห่งคือ LyonและMarseille http://law.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41712-5.pdf

3. องค์ประกอบของปกครองส่วนท้องถิ่น แก้

การจดั ต้งัและยกฐานะ หน่วยการปกครองทอ้งถิ่นในประเทศฝรั่งเศสมีลกัษณะร่วมเช่นเดียวกนักบั หลายๆ ประเทศในยโุ รป กล่าวคือเป็นเรื่องของเหตุผลทางประวัติศาสตร์ขณะที่หน่วยการปกครองทอ้งถิ่นรูปแบบใหม่ๆ ก็มกัจะ พฒั นามาจากเขตพ้ืนที่ทางการพฒั นาของรัฐบาลกลาง เกณฑก์ ารจดั ต้งัและการยกฐานะ สา หรับกรณีของเทศบาลน้นั เป็นที่ชดัเจนวา่ พฒั นามาจากชุมชนด้งัเดิมที่สามารถสืบยอ้นไปได้ไกล ถึงสมัยกลางของยุโรปโดยแต่เดิมน้นเป็ นเขตชุมชนทางศาสน ั าการปกครองทอ้งถิ่นในรูปแบบคอมมนูหรือ เทศบาลจึงเป็นการจดั ต้งัโดยอยบู่ นฐานของชุมชนต่างๆ ที่กระจายอยทู่ วั่ ฝรั่งเศส ส่วนหน่วยการปกครอง ทอ้งถิ่นในรูปของจงัหวดัน้นั พฒั นาตนเองมาจากเขตพ้ืนที่ทางการ ปกครองที่รัฐไดจ้ดั ต้งัข้ึนภายหลงการ ั ปฏิวตัิฝรั่งเศสในศตวรรษที่18โดยเป็นเขตการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเพื่อเชื่อมโยงการบริหาร ปกครองในระดบั ทอ้งถิ่นเขากบัรัฐส่วนกลาง ภารกิจและอา นาจหนา้ที่ เทศบาล เทศบาลทุกแห่งจะมีการจดัโครงสร้างภายในแยกออกเป็นสองส่วน ประกอบด้วย สภา เทศบาล (conseil municipal) ท าหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ และนายกเทศมนตรีท าหน้าที่ด้าน การบริหาร ซึ่งมี รายละเอียดดงัต่อไปน้ี สภาเทศบาล สภาเทศบาลประกอบไปดว้ยสมาชิกสภาเทศบาล มีที่มาจากการเลือกต้งัของประชาชน และ มีวาระการดา รงต่า แหน่ง 6 ปี ส าหรับจ านวนสมาชิกสภาจะแปรผันไปตามจ านวนประชาชนภายใน เทศบาลแต่ละแห่งซ่ึงกา หนดไวต้ายตวัเป็นลา ดบั ช้นั เช่น จา นวนประชากรต่า กวา่ 100คน จะมี สมาชิกสภา ได้ 9คน, จ านวนประชากร 100 -499คน จะมีสมาชิกสภาได้ 11คน จ านวนประชากร 500 -1,499คน จะมี สมาชิกสภาได้ 15คน และจะเรียงเป็นลา ดบั ช้นั เช่นน้ีไปเรื่อยๆ โดยจา นวน สมาชิกสภาสูงสุดที่มีไดค้ือ69 คนในเทศบาลที่มีประชากรมากกวา่ 300,00คน นายกเทศมนตรีมีฐานะเป็นผูน้ า ฝ่ายบริหารของเทศบาล มีที่มาจากการเลือกต้งัโดย ทางออ้ม กล่าวคือ มาจากการเลือกต้งัในหมู่สมาชิกสภาเทศบาล นายกเทศมนตรีจะมีบทบาทหน้าที่ 2ดา้นดว้ยกนั กล่าวคือในดา้นหน่ึงจะมีสถานะเป็นผบู้ริหารของเทศบาลและในอีกดา้นหน่ึงกฎหมายก็ไดก้า หนดให้ นายกเทศมนตรีเป็นตวัแทนของรัฐในเวลาเดียวกนัดว้ย ท่ส าคญั ก็คือ นายกเทศมนตรีไม่สามารถถูกเพิกถอน โดยสภาเทศบาลได้ การเพิกถอนจะท าได้โดยพระราช กฤษฎีกาของคณะรัฐมนตรี จังหวัดการจดัโครงสร้างองคก์รภายในจงัหวดัก็มีลกัษณะเช่นเดียวกบั เทศบาลกล่าวคือแยก ออกเป็ น 2 ฝ่ายระหวา่ งฝ่ายนิติบญั ญตัิคือ สภาจงัหวดั (conseil général) และฝ่ ายบริหารคือประธานสภา จงัหวดัและนอกจากน้ียงัมีคณะกรรมาธิการจงัหวดั ภาคโครงสร้างองค์กรของภาคจะประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ สภาภาค ทา หนา้ที่ฝ่ายสภา ประธานสภาภาค ท าหน้าที่ฝ่ ายบริหาร, และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม ท าหน้าที่เป็นองค์กรที่ ปรึกษา สภาภาค สมาชิกสภาภาคมาจากการเลือกต้งัของประชาชน โดยใชเ้ขตจงัหวดัที่อยใู่ นภาคน้นั เป็ น เขตเลือกต้งัตามจา นวนที่กฎหมายกา หนดไว้สมาชิกสภาภาคมีวาระการดา รงคตา แหน่ง 6 ปี มีบทบาทคล้าย กบั เป็นองคก์รดา้นยทุ ธศาสตร์และการวางแผน คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมคณะกรรมการน้ีจะมีสมาชิกอยรู่ ะหวา่ ง 40ถึง 110คน มี องคป์ ระกอบของสมาชิกตามที่มาอยดู่ ว้ยกนั 4 ประเภท คือ ตวัแทนของวสิาหกิจและผปู้ระกอบอาชีพอิสระ ตัวแทนของสหภาพแรงงานตวัแทนขององคก์รที่มีส่วนรวมในการดา เนินกิจกรรมของภาค, และ ผทู้รงคุณวุฒิต่างๆ ตามที่กา หนดไวใ้นกฎหมาย มีวาระการดา รงตา แหน่ง6 ปี องค์กรฝ่ ายบริหารประธานสภาภาคมีสถานะเป็นฝ่ายบริหารของภาค มีที่มาโดยการเลือกต้งัจาก สมาชิกสภา ภาคและมีวาระการดา รงตา แหน่ง 6 ปีมีขอบข่ายอา นาจหนา้ที่คลา้ยคลึงกบั ประธานสภาจงัหวดั <ref>http://www.local.moi.go.th/document%203.pdf>

4.ระบบการคลังท้องถิ่น แก้

ระบบการคลงัทอ้งถิ่นในฝรั่งเศสกล่าวไดว้า่ มีสัดส่วนที่นอ้ยเมื่อเทียบกบัระบบการคลงัของ ภาครัฐ เนื่องจากมีสัดส่วนการใชจ้่ายเพียงประมาณร้อยละ20ของการใชจ้่ายในภาครัฐท้ ั งหมดองคก์รปกครองส่วน ทอ้งถิ่นก็มีอิสระเป็นอยา่ งมากในการใชจ้่ายเงินงบประมาณของตน โดยเฉพาะภายหลงักระบวนการกระจาย อ านาจในปี ค.ศ.1982 ทา ให้การแทรกแซงและควบคุม ทางการคลงัจากรัฐบาลกลางมีขอ้จา กดัมากข้ึน เนื่องจากมีการจดั ต้งัศาลตรวจเงินแผน่ ดินภาคในทุกๆ ภาคเพื่อทา หนา้ที่ควบคุมบญั ชีและการคลงัของ องคก์ร ปกครองส่วนทอ้งถิ่น นอกจากน้ีทอ้งถิ่นยงัมีอิสระในการกา หนดอตัราภาษีภายในกรอบที่กา หนดไว้ และมีอิสระในการใชจ้่ายตามความจา เป็นของตน การงบประมาณ <ref>https://sites.google.com/site/opaspuaram1/politics> องคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่นทุกประเภทจะต้องวางแผนงบประมาณรายรับ -รายจ่ายเป็น ประจา ทุก ปีโดยจดัทา เป็นเอกสารคาดการณ์ล่วงหนา้ที่จดัทา ข้ึนโดยฝ่ายบริหารขององคก์รปกครอง ส่วนทอ้งถิ่น โดย ตอ้งผา่ นการพิจารณาอนุมตัิจากสภาทอ้งถิ่นเพื่อนา ไปบงัคบั ใชร้ะบบบญั ชีงบประมาณโดยทวั่ ไปจะแยก ออกเป็ นสองกลุ่ม ไดแ้ก่ ระบบบัญชีงบประมาณเพื่อการด าเนินการไดแ้ก่ระบบงบประมาณ รายรับ –รายจ่ายเพื่อใชใ้น กิจการดา้นงบประจา การจดัซ้ือจดัจา้งค่าจา้งและค่าตอบแทนบุคลากรและการใชจ้่ายเพื่อจดัทา ภารกิจ โดยทวั่ ไป ระบบบัญชีงบประมาณเพื่อการลงทุนไดแ้ก่ระบบงบประมาณ รายรับ-รายจ่ายเพื่อใชใ้นกิจการที่ เป็นการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่หรือมีระยะเวลาดา เนินการยาวนาน เช่น งานดา้นการก่อสร้าง โครงสร้างพ้ืนฐาน เป็นตนโดยทวั่ ไป รายจ่ายเพื่อการดา เนินการจะเป็นสัดส่วนหลกัของการใชจ้่ายในภาค ทอ้งถิ่น กล่าวคือ ประมาณร้อยละ 60 -70 ส่วนที่เหลือจะเป็นรายจ่ายเพื่อการลงทุน แหล่งที่มารายได้ ความเป็นอิสระทางการคลงัขององคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่นในฝรั่งเศส ส่วนหน่ึงเป็นผล มาจาก ฐานรายไดเ้นื่องจากรายไดส้่วนใหญ่กวา่ ร้อยละ60จะมาจากภาษีอากรและค่าธรรมเนียม ต่างๆ ที่ทอ้งถิ่น สามารถกา หนดอตัราการเรียกเก็บไดเ้อง ซ่ึงสัดสวนรายรับดา้นน้ีเพิ่มข้ึนอยา่ งมาก ภายหลงักระบวนการ กระจายอา นาจปีค.ศ.1982 ซ่ึงเคยมีสัดส่วนเพียงร้อยละ18.2ขณะเดียวกนั เงิน อุดหนุนจากรัฐก็มีการ เปลี่ยนแปลงจากเงินอุดหนุนที่กา หนดเงื่อนไขไปสู่ระบบเงินอุดหนุนทวไปที่ ยืดหยุนและให้อิสระในการใช้ ั่ จ่ายแก่ทอ้งถิ่นมากข้ึน <ref>http://serdeaut.univparis1.fr/fileadmin/cerdeau/son/Traduction_en_tha%C3%AFlandais_-__Y_JEGOUZO_1_.pdf>

5.ระบบการบริหารงานบุคคล แก้

บุคลากรในระดบั ทอ้งถิ่นจะอยภู่ ายใตก้าร บริหารจดัการของทอ้งถิ่นแต่ละแห่งอยา่ งไรก็ดีพนกังาน ในระดบั น้ีมกัจะถูกมองวา่ ขาดความรู้ความชา นาญและมีศกัด์ิศรีนอ้ยเมื่อเทียบกบัขา้ราชการส่วนกลาง ดงัน้ ัน ภายหลงัการกระจายอา นาจ ซ่ึงไดม้ีการโอนอา นาจการบริหารไปสู่หน่วยการปกครองทอ้งถิ่นใน รูปแบบใหม่คือจงัหวดัและ ภาค ซ่ึงทอ้งถิ่นเหล่าน้ีจา เป็นจะตอ้งไดร้ับการโอนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเขา้ไปทา งาน รัฐบาลจึงไดส้ร้างกรอบกา ลงัพลระดบั ชาติในภาครัฐข้ึนมาใหม่คือระบบ ขา้ราชการส่วนทอ้งถิ่นโดยมีวตัถุประสงคเ์พื่อดึงดูดบุคลากรที่มีคุณภาพเข้าไปท างานในองค์กรปกครอง ส่วนทอ้งถิ่น <ref>https://prachatai.com/journal/2012/03/39558>

6. ความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น แก้

ความสัมพนัธ์ระหวา่ งส่วนกลางกบั ทอ้งถิ่นในระดบั ภูมิภาคก็มีลกัษณะของระบบความสัมพนัธ์ที่โดดเด่นมา ชา้นาน นนั่ คือความสัมพนัธ์ที่เกิดข้ึนภายในศาลากลางจงัหวดั ดงัที่มกัจะมีการกล่าววา่ จงัหวดัน้นั เปรียบเสมือนกบั เป็นจุดบรรจบของผลประโยชน์ในระดบั ทอ้งถิ่น เนื่องจากในทางปฏิบตัิแลว้ การบริหาร ปกครองภายในพ้ืนที่ทอ้งถิ่นของฝรั่งเศสลว้นเป็น ผลมาจากการเจรจาต่อรองอยา่ งไม่เป็นทางการโดยกลุ่มที่ มีบทบาทสา คญั ไดแ้ก่กลุ่ม ชนช้นั น า ทอ้งถิ่น ที่มีอิทธิพลทางการเมืองท้งัในระดบั ทอ้งถิ่นและระดับชาติ ซ่ึงจะเขา้มามีปฏิสัมพนัธ์ร่วมกบักลุ่มบุคคลต่างๆ ท้งัตวัแทนของรัฐส่วนกลางขา้ราชการส่วนภูมิภาคและ นกัการเมืองในระดบั ต่างๆ ซ่ึงระบบเช่นน้ีทา ให้ผลประโยชน์และความตอ้งการของท้งัฝ่ายทอ้งถิ่น และฝ่าย ส่วนกลางสามารถมาบรรจบกนัได้ดงัน้ ัน เราจึงอาจกล่าวไดว้า่ ระบบความสัมพนัธ์ระหวา่ งส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาคและส่วนทอ้งถิ่นในฝรั่งเศส เป็นระบบความสัมพันธ์ที่มีลักษณะที่เรียกวา่ การพ่ึงพิงกนั ในเชิงอา นาจ <ref>http://www.public-law.net/publaw/view.aspx?id=185>

7. การตรวจสอบการปฏิบัติราชการ แก้

ภายหลงักระบวนการกระจายอา นาจไดม้ีการยกเลิกอา นาจในการกา กบัดูแลทางปกครองของผู้วา่ ราชการ จังหวัดท าให้อ านาจในการเขา้ไปควบคุมทา งานของทอ้งถิ่นโดยตรงจึงไม่มีดงัน้ ัน การตรวจสอบการปฏิบตัิ ราชการจากรัฐบาลกลางจึงมีลักษณะของการ ควบคุมให้เป็นไปตามกฎหมายและปกป้องผลประโยชน์ของ ประชาชนเป็นการทวั่ ไปมากกวา่ ที่จะเขา้ไปแทรกแซงหรือช้ีนา การทา งานของทอ้งถิ่นโดยตรง ซ่ึง โดยทวั่ ไปจะมีอยดู่ ว้ยกนั 3ลกัษณะด้งัน้ีการควบคุมสภาทอ้งถิ่น การควบคุมสมาชิกสภาทอ้งถิ่น การ ควบคุมฝ่ายบริหารขององคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น <ref>http://libdcms.nida.ac.th/thesis6/2557/b186353.pdf>

8.การควบคุมโดยราชการส่วนกลาง แก้

ในการควบคุมของส่วนกลางต่อทอ้งถิ่นโดยตรงไดถู้กยกเลิกไป ดงัน้ ันองคก์รผใู้ชอ้า นาจในการควบคุมดูแล องคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่นในปัจจุบนั จึงมีบทบาทหนา้ที่ในสามลกัษณะกล่าวคือในประการที่หน่ึง มี บทบาทในการควบคุมทอ้งถิ่นที่เป็นแต่เพียงการควบคุมใหช้อบดว้ยกฎหมาย มิใช่การเขา้ไปแทรกแซงการ ทา งานที่อยใู่ นอา นาจหนา้ที่ของ ทอ้งถิ่น ประการที่สอง มีบทบาทในฐานะองคก์รกลางในการพิจารณาและ ตดัสินขอ้ขดัแยง้ทาง ปกครองระหวา่ งองคก์รปกครองทอ้งถิ่นดว้ยกนั เอง หรือระหวา่ งองคก์รปกครอง ทอ้งถิ่นกบัองคท์ างปกครองอื่นๆ และประการที่สาม จะมีบทบาทในฐานะผู้ให้ค าปรึกษาหรือแนะแนวการ ปฏิบัติ ใหก้ บัองคก์ ารปกครองส่วนทอ้งถิ่น เพื่อใหก้ารดา เนินงานเป็นไปโดยถูกตอ้ง ในปัจจุบนัองคก์รที่มี บทบาทดงักล่าวมีอยดู่ ว้ยกนั3องคก์รดงัต่อไปน้ีผวู้า่ ราชการจงัหวดั ศาลปกครองศาลตรวจเงินแผน่ ดินภาค <ref>https://prezi.com/sdrd7cwqc9qj/presentation/>

9.แนวโน้มการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอนาคต แก้

ระบบการบริหาร ปกครองนอกศูนยก์ลางของฝรั่งเศสเกิดการปรับเปลี่ยนเป็นอยา่ งมากท้งัในดา้นโครงสร้าง และระบบความสัมพนัธ์กระน้นัก็ดีแรงเหวยี่ งแห่งความเปลี่ยนแปลงก็ยงัมีอยแู่ ละดูเหมือนจะยงิ่ รุนแรง มากยงิ่ ข้ึนหลงัการกา้วเขา้สู่สหสัวรรษใหม่รัฐฝรั่งเศสกา ลงัเผชิญกบัการทา้ทายใหม่ๆ ที่ เป็นผลใหจ้ารีต ทางการบริหารปกครองสืบทอดมาต้งัแต่คร้ังการปฏิวตัิฝรั่งเศสจา ตอ้งปรับตวัอยา่ ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ซ่ึง มูลเหตุที่สา คญั ก็คือผลกระทบที่เกิดจากการขยายบทบาทขององคก์รเหนือรัฐซ่ึงไดแ้ก่ สหภาพยโุ รป (EU) ผลกระทบที่เห็นได้ชัดจากการขยายบทบาทของสหภาพยุโรป <ref>http://law.stou.ac.th/dynfiles/Ex.41711-3.pdf>