วิทยาแร่ เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาว่าด้วย โครงสร้างผลึก ลักษณะทางเคมีและกายภาพ รวมถึงการกำเนิดของแร่ในแต่ละชนิด[1]

ประวัติ แก้

แรกเริ่มการบันทึกของแร่วิทยา จะมุ่งสนใจไปที่อัญมณีเสียมากกว่า โดยพบได้จากอาณาจักรบาบิโลเนียโบราณ กรีก-โรมันโบราณ จีนโบราณและยุคกลาง บันทึกภาษาสันสกฤตของอินเดียโบราณ และโลกอิสลามโบราณ[2]

คุณสมบัติทางฟิสิกส์ แก้

  • โครงสร้างผลึก
  • รูปลักษณะผลึกและกลุ่มผลึก
  • สี
  • สีผงละเอียด
  • รอยแตก
  • แนวแตกเรียบ
  • ความวาว
  • ความแข็ง
  • ความเหนียว
  • ความถ่วงจำเพาะ
  • ความเป็นแม่เหล็กและการเรืองแสง
  • การนำไฟฟ้า

โครงสร้างผลึก แก้

คุณสมบัติทางเคมี แก้

คุณสมบัติจากการมองเห็น แก้

การนำมาใช้ประโยชน์ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. http://gi.bru.ac.th/gis/dr/files/3mineralogy/10.pdf แร่วิทยา : รศ.ดร.จุมพล วิเชียรศิลป์
  2. Needham, Joseph (1959). Science and civilisation in China (Reprinted ed.). Cambridge [etc.]: Cambridge University Press. pp. 637–638. ISBN 978-0521058018.


แหล่งข้อมูลอื่น แก้