ผู้นำสูงสุดอิหร่าน
บทความนี้อาจต้องการพิสูจน์อักษร ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ผู้นำสูงสุดแห่งอิหร่าน (เปอร์เซีย: ولی فقیه ایران, vali-e faghih-e iran,[2] แปลตามตัวอักษร ปราชญ์กฎหมายผู้พิทักษ์อิหร่าน หรือ رهبر انقلاب, rahbar-e enghelab,[3] แปลตามตัวอักษร ผู้นำการปฏิวัติ) เป็นประมุขแห่งรัฐและผู้นำสูงสุดทางการเมืองและศาสนาของ สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ตำแหน่งนี้ตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญของอิหร่านภายใต้หลักการของ Guardianship of the Islamic Jurists[4] คำว่า ผู้นำ "สูงสุด" (Persian: ولی فقیه, vali-e faghih) เป็นการแสดงความนับถือ แต่ไม่ใช่ถ้อยคำจากรัฐธรรมนูญ ซึ่งเรียกว่า ผู้นำ เท่านั้น (rahbar)
ผู้นำสูงสุดสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน | |
---|---|
![]() | |
ที่พำนัก | พระราชวังเนียวาราน เตหะราน |
ผู้แต่งตั้ง | สมัชชาปราชญ์ |
วาระ | ตลอดชีพ[1] |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | อายะตุลลอฮ์ โคมัยนี |
สถาปนา | 3 ธันวาคม 1979 |
เว็บไซต์ | personal Website |
ตำแหน่งผู้นำนี้มีอำนาจสูงกว่าประธานาธิบดีอิหร่านและมีอำนาจแต่งตั้งผู้นำองค์กรที่สำคัญต่างๆ ของประเทศ ทั้งทางทหาร พลเรือน และตุลาการ[5] แต่เดิมนั้นรัฐธรรมนูญระบุไว้ว่าผู้นำสูงสุดต้องเป็น Marja'-e taqlid ตำแหน่งสูงสุดทางกฎหมายศาสนาของ Usuli Twelver Shia Islam แต่ในประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อ ค.ศ. 1989 ได้มีการแก้ไขให้ผู้นำสูงสุดไม่จำเป็นต้องมาจากผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวอีกต่อไป[6][7]
ในประวัติศาสตร์มีผู้ดำรงตำแหน่งนี้เพียงสองคนเท่านั้น คือ รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ซึ่งดำรงตำแหน่งตั้งแต่ ค.ศ. 1979 จนถึงแก่กรรมในตำแหน่งเมื่อ ค.ศ. 1989 และ อะลี คอเมเนอี ซึ่งดำรงตำแหน่งต่อมาถึงปัจจุบัน
ผู้นำสูงสุดมาจากการเลือกตั้งของ Assembly of Experts
ฐานะและอำนาจแก้ไข
ผู้นำสูงสุดมาจากการเลือกตั้งของ Assembly of Experts (เปอร์เซีย: مجلس خبرگان, Majles-e Khobregan) ซึ่งมีวาระการดำรงตำแหน่งได้ 8 ปี และไม่จำกัดจำนวนวาระที่ดำรงตำแหน่งต่อเนื่อง ผู้นำสูงสุดเป็นผู้บัญชาการกองกำลังแห่งอิหร่าน และเป็นผู้นำแห่งรัฐบาลทั้งสามสาขา ทั้งตุลาการ นิติบัญญัติ และบริหาร
ผู้นำสูงสุดแต่งตั้งโดยตรง (หรือ แต่งตั้งโดยพิธี) และดูแลตำแหน่งดังต่อไปนี้
- (แต่ตั้งโดยพิธี) ประธานาธิบดี และอาจซักฟอกประธานาธิบดีได้เมื่อมี 2 ใน 3 ของสภาร่วมด้วย
- the Chief justice (head of the Judiciary Branch قوه قضائیه usually a member of the Council of Experts) ให้ดำรงตำแหน่งมีวาระ 8 ปี
- สมาชิกแห่ง the Expediency Discernment Council ให้ดำรงตำแหน่งมีวาระ 5 ปี
- เลือกสมาชิก the Guardian Council 6 คน จากสมาชิกแห่ง the Council of Experts ส่วนสมาชิกอีก 6 คน ถูกเลือกโดยรัฐสภา Majles
- หัวหน้าของ the National Radio and Television Institution IRIB ให้ดำรงตำแหน่งมีวาระ 8 ปี
- หัวหน้าของ the Foundation of Martyrs and Veterans Affairs
- the Imams of the Friday Prayer of each Province Capital (with the advise of all the Marja') ให้ตำรงตำแหน่งได้ตลอดชีวิต
- ผู้บัญชาการใน Head of the Iranian Armed Forces
- ผู้บัญชาการใน Head of the Islamic Republic of Iran Army IRIA
- ผู้บัญชาการใน Head of the Army of the Guardians of the Islamic Revolution AGIR
- ผู้บัญชาการของ the Ground Force of the IRIA
- ผู้บัญชาการของ the AGIR Ground Forces
- ผู้บัญชาการของ the IRIAF Air Force of the IRIA
- ผู้บัญชาการของ the Islamic Republic of Iran Air Defense Force
- ผู้บัญชาการของ the AFAGIR Aerospace Force of the AGIR
- ผู้บัญชาการของ the Navy of the IRIA Navy of Iran
- ผู้บัญชาการของ the Navy of the AGIR AGIR Navy
- ผู้บัญชาการของ the Special Forces or Qods Force of the AGIR
- ผู้บัญชาการของ the Iranian Police
- หัวหน้าของ the Basij Organization
- หัวหน้าของ the Counter Intelligence Units
- หัวหน้าของ the Intelligence Units
การประกาศสงครามและการสงบศึกต้องกระทำโดยผู้นำสูงสุดพร้อมกับสองในสามของรัฐสภา Majles[8]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "Iran's possible next Supreme Leader being examined: Rafsanjani". 13 December 2015. สืบค้นเมื่อ 1 July 2016 – โดยทาง Reuters.
- ↑ Article 108, Iranian Constitution
- ↑ Article 89-91, Iranian Constitution
- ↑ Article 5, Iranian Constitution
- ↑ "Who's in Charge?" by Ervand Abrahamian London Review of Books, 6 November 2008
- ↑ Moin, Baqer, Khomeini, (2001), p.293
- ↑ "Article 109 [Leadership Qualifications]
(1) Following are the essential qualifications and conditions for the Leader:
a. Scholarship, as required for performing the functions of religious leader in different fields. - ↑ Article 110, Iranian Constitution