อินเทล (Intel) เป็นบริษัทผลิตชิพสารกึ่งตัวนำที่ใหญ่ที่สุดในโลกเมื่อวัดจากรายได้ บริษัทอินเทลเป็นผู้คิดค้นไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูลx86 ออกมาวางจำหน่าย ซึ่งเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ที่ใช้กันมากที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล[1] อินเทลก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1968 ในชื่อ Integrated Electronics Corporation โดยมีสำนักงานอยู่ที่ซานตาคลารา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อินเทลยังเป็นผู้ผลิตชิพเซตของเมนบอร์ด, เน็ตเวิร์คการ์ดและแผงวงจรรวม, แฟลชเมโมรี, ชิพกราฟิค, โปรเซสเซอร์ของระบบฝังตัว ตลอดจนอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร

อินเทลคอร์ปอเรชัน
ประเภทบริษัทมหาชน (NASDAQ: INTC)
ISINUS4581401001 Edit this on Wikidata
อุตสาหกรรมเซมิคอนดัคเตอร์
ก่อตั้งค.ศ. 1968
ผู้ก่อตั้งแอนดรูว์ โกรฟ
โรเบิร์ต นอยซ์
กอร์ดอน มัวร์ Edit this on Wikidata
สำนักงานใหญ่ซานตาคลารา รัฐแคลิฟอร์เนีย
บุคลากรหลัก
แอนดี ไบรอันต์ (ประธานบริษัท)
ไบรอัน คระซานนิช (CEO)
เรอเน เจมส์ (ประธานบริหาร)
ผลิตภัณฑ์ไมโครโพรเซสเซอร์ หน่วยความจำแบบแฟลช
รายได้63.05 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2022)
รายได้จากการดำเนินงาน
2,334,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2565) Edit this on Wikidata
รายได้สุทธิ
8,014,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2565) Edit this on Wikidata
สินทรัพย์168,406,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2564) Edit this on Wikidata
พนักงาน
131,900 คน (2022)
เว็บไซต์www.intel.com

อินเทลก่อตั้งขึ้นโดย กอร์ดอน มัวร์ (Gordon Moore) และโรเบิร์ต นอยซ์ (Robert Noyce) ผู้เชี่ยวชาญด้านสารกึ่งตัวนำ โดยเป็นอดีตพนักงานของ Fairchild Semiconductor พนักงานยุคแรกเริ่มที่สำคัญอีกคนของอินเทลคือ แอนดรูว์ โกรฟ ซึ่งในภายหลังเป็นผู้บริหารคนสำคัญ ที่ทำให้อินเทลก้าวขึ้นมาเป็นบริษัทระดับโลกในปัจจุบัน

แต่เดิมนั้น ชื่อของอินเทลจะเป็นที่รู้จักเฉพาะในหมู่วิศวกรและนักเทคโนโลยีเท่านั้น แต่หลังจากที่โฆษณา อินเทล อินไซด์ ประสบผลสำเร็จอย่างกว้างขวางในช่วงทศวรรษ 1990 ชื่อของอินเทลก็กลายเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปในทันที โดยมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่รู้จักคือ หน่วยประมวลผลกลางตระกูลเพนเทียม (Pentium)

ผลิตภัณฑ์ แก้

โพรเซสเซอร์ แก้

โพรเซสเซอร์ (รุ่นปัจจุบัน)
โพรเซสเซอร์ (รุ่นก่อนหน้า)

แพลตฟอร์ม แก้

รายชื่อโพรเซสเซอร์รุ่น คอร์ แก้

อินเทล เจนเนอเรชั่น 1 (Socket:1156,rPGA-988A,BGA1288) แก้

Intel® Core™ i3-330E

Intel® Core™ i3-330M

Intel® Core™ i3-330UM

Intel® Core™ i3-350M

Intel® Core™ i3-370M

Intel® Core™ i3-380M

Intel® Core™ i3-380UM

Intel® Core™ i3-390M

Intel® Core™ i3-530

Intel® Core™ i3-540

Intel® Core™ i3-550

Intel® Core™ i3-560

Intel® Core™ i5-430M

Intel® Core™ i5-430UM

Intel® Core™ i5-450M

Intel® Core™ i5-460M

Intel® Core™ i5-470UM

Intel® Core™ i5-480M

Intel® Core™ i5-520E

Intel® Core™ i5-520M

Intel® Core™ i5-520UM

Intel® Core™ i5-540M

Intel® Core™ i5-540UM

Intel® Core™ i5-560M

Intel® Core™ i5-560UM

Intel® Core™ i5-580M

Intel® Core™ i5-650

Intel® Core™ i5-655K

Intel® Core™ i5-660

Intel® Core™ i5-661

Intel® Core™ i5-670

Intel® Core™ i5-680

Intel® Core™ i5-750

Intel® Core™ i5-750S

Intel® Core™ i5-760

อินเทล เจนเนอเรชั่น 2 (Socket:LGA1155) แก้

Intel® Core™ i3-2100

Intel® Core™ i5-2400

Intel® Core™ i7-2600

อินเทล เจนเนอเรชั่น 3 (Socket:FCLGA1155) แก้

Intel® Core™ i3-3220

Intel® Core™ i5-3470

Intel® Core™ i7-3770

โลโก้ แก้

 
โลโก้ ที่ใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ถึง 2549
โลโก้ ที่ใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ถึง 2549 
 
โลโก้ ที่ใช้ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2549[2][3] จนถึง 2 กันยายน พ.ศ. 2563[4]
โลโก้ ที่ใช้ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2549[2][3] จนถึง 2 กันยายน พ.ศ. 2563[4] 
 
โลโก้ ที่ใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2563 จนปัจจุบัน
โลโก้ ที่ใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2563 จนปัจจุบัน 
 
โลโก้ "Intel Inside" ที่ใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ถึง 2546
โลโก้ "Intel Inside" ที่ใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ถึง 2546 
 
โลโก้ "Intel Inside" ที่ใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง 2549
โลโก้ "Intel Inside" ที่ใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง 2549 

อ้างอิง แก้

  1. Intel 2007 Annual Report
  2. "Intel Unveils New Brand Identity". Intel Corporation. January 3, 2006. สืบค้นเมื่อ September 4, 2020.
  3. Nystedt, Dan (December 30, 2005). "'Intel Inside' out as company launches a new slogan". Computerworld. สืบค้นเมื่อ September 4, 2020.
  4. Walker, Karen (September 2, 2020). "Sparking the Next Era for the Intel Brand". Intel Newsroom. สืบค้นเมื่อ September 4, 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้