นาฬิกาสิบสองชั่วโมง
นาฬิกาสิบสองชั่วโมง เป็นระบบการนับเวลาแบบตะวันตก ควบคู่กันไปกับนาฬิกาหกชั่วโมงที่ใช้ตามประเพณีไทยดั้งเดิม เช่นเดียวกับระบบอื่นที่ใช้กันทั่วไป ระบบดังกล่าวนับว่าหนึ่งวันมียี่สิบสี่ชั่วโมง แต่ในหนึ่งวันจะแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนสิบสองชั่วโมง
การนับแก้ไข
วิธีนับเวลาแบบตะวันตก แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ก่อนเที่ยง กับ หลังเที่ยง เมื่อเทียบกับของไทยดั้งเดิมตามประเพณี แบ่งเป็น 3 ช่วงหลัก คือ โมง ทุ่ม และตี[1][2][3]
“ก่อนเที่ยง” นับตั้งแต่เที่ยงคืนจนถึงเช้าห้า ส่วน “หลังเที่ยง” จะนับตั้งแต่เที่ยงวันจนถึงห้าทุ่ม
ประวัติแก้ไข
ระบบนี้ใช้กันมาในบางรูปแบบตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรอยุธยา แต่ได้รับการจัดให้เป็นหมวดหมู่คล้ายกับในปัจจุบันในปี พ.ศ. 2444 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 17 หน้า 206[4] ทุกวันนี้ ระบบดังกล่าวใช้ในการสนทนาระดับไม่เป็นทางการเท่านั้น
ตารางเปรียบเทียบแก้ไข
เวลา | นาฬิกาสิบสองชั่วโมง | นาฬิกาหกชั่วโมง |
---|---|---|
12:00 ก่อนเที่ยง หรือ 0:00 ก่อนเที่ยง |
สิบสองก่อนเที่ยง หรือ ศูนย์ก่อนเที่ยง |
หกทุ่ม, เที่ยงคืน |
1:00 ก่อนเที่ยง | หนึ่งก่อนเที่ยง | ตีหนึ่ง |
2:00 ก่อนเที่ยง | สองก่อนเที่ยง | ตีสอง |
3:00 ก่อนเที่ยง | สามก่อนเที่ยง | ตีสาม |
4:00 ก่อนเที่ยง | สี่ก่อนเที่ยง | ตีสี่ |
5:00 ก่อนเที่ยง | ห้าก่อนเที่ยง | ตีห้า |
6:00 ก่อนเที่ยง | หกก่อนเที่ยง | ตีหก, ย่ำรุ่ง |
7:00 ก่อนเที่ยง | เจ็ดก่อนเที่ยง | เช้าโมง |
8:00 ก่อนเที่ยง | แปดก่อนเที่ยง | เช้าสอง |
9:00 ก่อนเที่ยง | เก้าก่อนเที่ยง | เช้าสาม |
10:00 ก่อนเที่ยง | สิบก่อนเที่ยง | เช้าสี่ |
11:00 ก่อนเที่ยง | สิบเอ็ดก่อนเที่ยง | เช้าห้า |
12:00 หลังเที่ยง หรือ 0:00 หลังเที่ยง |
สิบสองหลังเที่ยง หรือ ศูนย์หลังเที่ยง |
เที่ยงวัน |
1:00 หลังเที่ยง | หนึ่งหลังเที่ยง | บ่ายโมง |
2:00 หลังเที่ยง | สองหลังเที่ยง | บ่ายสองโมง |
3:00 หลังเที่ยง | สามหลังเที่ยง | บ่ายสามโมง |
4:00 หลังเที่ยง | สี่หลังเที่ยง | สี่โมงเย็น |
5:00 หลังเที่ยง | ห้าหลังเที่ยง | ห้าโมงเย็น |
6:00 หลังเที่ยง | หกหลังเที่ยง | หกโมงเย็น, ย่ำค่ำ |
7:00 หลังเที่ยง | เจ็ดหลังเที่ยง | หนึ่งทุ่ม |
8:00 หลังเที่ยง | แปดหลังเที่ยง | สองทุ่ม |
9:00 หลังเที่ยง | เก้าหลังเที่ยง | สามทุ่ม |
10:00 หลังเที่ยง | สิบหลังเที่ยง | สี่ทุ่ม |
11:00 หลังเที่ยง | สิบเอ็ดหลังเที่ยง | ห้าทุ่ม |
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "Time". The New Encyclopædia Britannica. Vol. 28. 1986. pp. 660 2a.
"Time". Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica Online Library Edition. สืบค้นเมื่อ 20 November 2013. (ต้องรับบริการ)
"The use of AM or PM to designate either noon or midnight can cause ambiguity. To designate noon, either the word noon or 1200 or 12 M should be used. To designate midnight without causing ambiguity, the two dates between which it falls should be given unless the 24-hour notation is used. Thus, midnight may be written: May 15–16 or 2400 May 15 or 0000 May 16." - ↑ "National Institute of Standards and Technology's Physics Laboratory, Times of Day FAQs". สืบค้นเมื่อ 20 September 2016.
- ↑ Susan Addington (25 August 2016). "Modular Arithmetic". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2008. สืบค้นเมื่อ 28 November 2008.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ "ประกาศใช้ทุ่มโมงยาม" (PDF), Royal Gazette, no. 17, p. 206, 29 July 1901, สืบค้นเมื่อ 2008-10-18. (ไทย)