ศิลปะการต่อสู้แบบผสม

(เปลี่ยนทางจาก นักต่อสู้แบบผสม)

ศิลปะการต่อสู้แบบผสม (อังกฤษ: mixed martial arts; MMA) คือ กติกาการต่อสู้ ที่ผู้เข้าแข่งขัน สามารถเอาศิลปะการต่อสู้หลายแขนงมาใช้แข่งขัน อย่างเช่น มวยไทย มวยสากล ยูโด มวยปล้ำ คาราเต้ แซมโบ บราซิลเลี่ยน ยูยิสสู มีทั้งการเตะต่อย และการทำให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้

ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสมผสานครั้งแรกที่ถ่ายทอดผ่านทีวีคือรายการ อัลติเมท ไฟต์ติง แชมเปียนชิพ (Ultimate Fighting Championship) ครั้งที่ 1 ใน ค.ศ.1993[ต้องการอ้างอิง] ในตอนนั้นยังไม่กฎกติกาอะไรมากนัก ก่อนมีการปรับเปลี่ยนกฎกติกาต่าง ๆ ให้เป็นที่ยอมรับมากขึ้นในวงการกีฬา ฮอยส์ เกรซี่ ซึ่งเป็นแชมป์คนแรกของรายการ UFC เป็นนักสู้ชาวบราซิล จูจิสสึ (BJJ)[ต้องการอ้างอิง]

ประวัติ

แก้

กฎกติกา

แก้

ยุคแรก

แก้

กฎติกาของศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสมผสานในตอนยุคแรกๆ ใน UFC ครั้งช่วงแรก รูปการต่อสู้ที่ไม่ตายตัวไม่มีกฎกติกา แต่มีการห้ามจิ้มตา และห้ามเตะเป้าในการแข่งเป็นแพ้คัดออก ใครชนะเข้ารอบ แข่งขันวันเดียวจบ แพ้ชนะอยู่ที่การน็อกคู่ต่อสู้ ทำให้คู่ต่อสู้ยอมแพ้ และกรรมการในเวทีสั่งยุติการแข่ง

ยุคปัจจุบัน

แก้

กติกาการแข่งขันได้มีการพัฒนาขึ้น มีแข่งขันตามน้ำหนัก ผู้เข้าแข่งขันต้องมีการใส่ถุงมือนวม ใส่ฟันยาง มีการพักยก แพทย์สนามสั่งยุติแบบการแข่งขันมวย

ซึ่งการแข่งขันในแต่ละรายการต่างๆ กฎกติกาจะคล้ายๆกัน บางที่สามารถให้กระทืบคู่ต่อสูได้ เช่น รายการ Pride Fighting Championship ของประเทศญี่ปุ่น แต่ตอนนี้โดนยุบไปแล้วเพราะข่าวลือที่ว่า Pride FC ค้างเงินของพวกยากูซ่า[ต้องการอ้างอิง]

การแข่งขันศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบผสม

แก้
  1. สหรัฐอเมริกา : UFC, Strikeforce, King of the cage, Gladiator Challenge, World Extreme Cagefighting (WEC)
  2. รัสเซีย : M-1
  3. บราซิล : Valetudo
  4. อังกฤษ : WOC
  5. ฮังการี : Totallfight
  6. ออสเตรเลีย : CFC
  7. ญี่ปุ่น : Shooto, Pancrase, Deep, Rizin, Dream, Sengoku
  8. เกาหลี : Spirit MC, Moosin
  9. จีน : Art of War
  10. ไต้หวัน :Ming Wu, Pro Fighting
  11. ฮ่องกง : Legend
  12. อินโดนีเซีย : TPI FC
  13. ฟิลิปปินส์ : FFC, URCC, UFX, Fight League Philippines
  14. สิงคโปร์ : Martial Combat, ONE
  15. ไทย : NAKSU

อ้างอิง

แก้
  • Danaher, John; Gracie, Renzo. "Phases of Combat". Human Kinetics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-18. สืบค้นเมื่อ 2006-02-11.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Gentry, Clyde (2005). No Holds Barred: Ultimate Fighting and the Martial arts Revolution. Milo Books. ISBN 978-1903854303.
  • Kallini, Christopher; Meyer, Rob. "rec.martial-arts FAQ". Internet FAQ Archives. สืบค้นเมื่อ 2006-02-11.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  • Kesting, Stephan. "The MMA Formula: Striking + Takedowns + Groundwork". Grapple Arts. สืบค้นเมื่อ 2006-02-06.
  • "Official MMA Rankings". Sherdog. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-21. สืบค้นเมื่อ 2006-02-06.
  • "Nevada Administrative Code, Chapter 467, Unarmed Combat: MMA Rules Explained" (PDF). Nevada State Athletic Commission. August 11, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-06-15. สืบค้นเมื่อ 2006-06-18.
  • Plotz, David (November 11, 1997). "Fight Clubbed". Slate. สืบค้นเมื่อ 2006-12-26.
  • Pratt, Ryan. "Sport Specific Training for MMA (Mixed Martial arts)". Grapple Arts. สืบค้นเมื่อ 2006-02-06.
  • "Ninjashoes.net Mixed Martial Arts Rankings". Ninjashoes. สืบค้นเมื่อ 2010-03-31.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้