ดอลลาร์ฮ่องกง (สัญลักษณ์: HK$; รหัส: HKD) เป็นเงินตราอย่างเป็นทางการของฮ่องกง แบ่งได้เป็น 100 เซนต์ องค์การเงินแห่งฮ่องกงเป็นคณะกรรมการเงินตราของรัฐและเป็นธนาคารกลางโดยพฤตินัยของฮ่องกงและดอลลาร์ฮ่องกง

ดอลลาร์ฮ่องกง
港元
Hong Kong dollar
ISO 4217
รหัสHKD
หมายเลข344
จุดทศนิยม2
การตั้งชื่อ
หน่วยย่อย
1/10 (hòu) (จีน)
1/100 (sīn) (จีน)
เซนต์ (อังกฤษ)
พหูพจน์dollars (เฉพาะอังกฤษ)
(sīn) (จีน)
เซนต์ (อังกฤษ)
cents (เฉพาะอังกฤษ)
สัญลักษณ์"$", "HK$" or "元"
ธนบัตร
 ใช้บ่อย$20, $50, $100, $500, $1,000
 ไม่ค่อยใช้$10, $150,
เหรียญ10¢, 20¢, 50¢, $1, $2, $5, $10
ข้อมูลการใช้
ผู้ใช้อย่างเป็นทางการ ฮ่องกง
ผู้ใช้ที่ไม่เป็นทางการ มาเก๊า
การตีพิมพ์
Monetary authorityองค์การเงินแห่งฮ่องกง
 เว็บไซต์www.hkma.gov.hk
เจ้าของโรงพิมพ์Issuing banks and authority:

Government of Hong Kong
HSBC
Bank of China
Standard Chartered
Printer:

Hong Kong Note Printing
การประเมินค่า
อัตราเงินเฟ้อ1.7%[1], Jan 2018 est.
ผูกค่ากับดอลลาร์สหรัฐ (USD)[2]
$1 USD = HK$7.78±0.05
ผูกค่าโดยMacau pataca (MOP$)
HK$1 = MOP$1.03
Hong Kong dollar
ภาษาจีน港元
เยลกวางตุ้งGóng yùn
ความหมายตามตัวอักษร(Hong) Kong dollar
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ
อักษรจีนตัวเต็ม港幣
อักษรจีนตัวย่อ港币
เยลกวางตุ้งGóng bàih

ธนาคารพาณิชย์สามแห่งได้รับใบอนุญาตจากองค์การเงินแห่งฮ่องกงในการออกธนบัตรสำหรับหมุนเวียนในฮ่องกง ทั้งนี้ ธนาคารทั้งสามแห่ง ได้แก่ เอชเอสบีซี ธนาคารแห่งประเทศจีน และสแตนดาร์ดชาร์เตอด์มีธนบัตรที่มีการออกแบบเฉพาะตัวสำหรับ 20, 50, 100, 500, และ 1000 ดอลลาร์ฮ่องกง โดยทุกรูปแบบมีความคล้ายกับธนบัตรมูลค่าเท่ากัน สำหรับธนบัตร 10 ดอลลาร์ฮ่องกงและเหรียญกษาปณ์นั้น รัฐบาลฮ่องกงเป็นผู้ออกแต่ผู้เดียว ซึ่งในอัตราแรกเปลี่ยนอยู่ที่ 1ดอลลาร์สหรัฐ=7.78ดอลลาร์ฮ่องกง หรือ 1ดอลลลาร์ฮ่องกง=4.28บาท (ณ วันที่30 ต.ค. 2564)

ในเดือนเมษายน 2562 ดอลลาร์ฮ่องกงเป็นเงินตราที่มีการซื้อขายมากที่สุดเป็นอันดับที่ 9[3] นอกจากมีใช้ในฮ่องกงแล้ว ยังใช้ในมาเก๊าด้วย[4]

อ้างอิง แก้

  1. "表052:消費物價指數 (2014年10月至2015年9月=100)政府統計處". Hong Kong Census and Statistics Department. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 June 2017. สืบค้นเมื่อ 23 May 2017.
  2. "Hong Kong Monetary Authority – Monetary Stability". www.hkma.gov.hk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 May 2016. สืบค้นเมื่อ 13 June 2016.
  3. "Triennial Central Bank Survey Foreign exchange turnover in April 2019" (PDF). Bank for International Settlements. 16 September 2019. p. 10. สืบค้นเมื่อ 16 September 2019.
  4. "The Basics | Fodor's Travel". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 April 2016. สืบค้นเมื่อ 9 April 2016.