ชุดตัวอักษรอเวสตะ

ชุดตัวอักษรอเวสตะ (เปอร์เซียกลาง: ทับศัพท์: dyn' dpywryh, ถอดรูป: dēn dēbīrē; เปอร์เซีย: دین دبیره, อักษรโรมัน: din dabire) ประดิษฐ์เมื่อราว พ.ศ. 843 เพื่อใช้เขียนบทสวดสรรเสริญในศาสนาโซโรอัสเตอร์ ส่วนใหญ่ได้อิทธิพลจากอักษรปะห์ลาวีของเปอร์เซีย บางส่วนมาจากชุดตัวอักษรแอราเมอิก และได้อิทธิพลจากชุดตัวอักษรกรีกในการกำหนดรูปสระ ถูกแทนที่ด้วยชุดตัวอักษรอาหรับเมื่อชาวเปอร์เซียหันไปนับถือศาสนาอิสลาม เขียนจากขวาไปซ้าย แนวนอน

ชุดตัวอักษรอเวสตะ
ชนิด
ช่วงยุค
ค.ศ. 400-1000
ทิศทางขวาไปซ้าย Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาอเวสตะ, ภาษาเปอร์เซียสมัยกลาง
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ISO 15924
ISO 15924Avst (134), ​Avestan
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Avestan
ช่วงยูนิโคด
U+10B00-U+10B3F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษร

แก้
 
ตารางอักษรอเวสตะโดย Carl Faulmann
 
ตารางอักษรอเวสตะในหน้า 183 ของ Encyclopédie vol. 2 โดย Diderot
 
ตารางอักษรอเวสตะในหน้า 184 ของ l'Encyclopédie

อักษรอเวสตะโดยรวมมีพยัญชนะ 37 ตัว และสระ 16 ตัว แผนการถอดความหลักของอักษรนี้มีสองแบบ แบ่งเป็นแบบอักขรวิธีใหม่โดย Karl Hoffmann และแบบอักขรวิธีเก่าโดย Christian Bartholomae

ชุดตัวอักษรอเวสตะ
อักษร ถอดเสียง[1] สัทอักษรสากล ยูนิโคด
Hoff. Bar.
𐬀 a a /a/ U+10B00: AVESTAN LETTER A
𐬁 ā ā /aː/ U+10B01: AVESTAN LETTER AA
𐬂 å /ɒ/ U+10B02: AVESTAN LETTER AO
𐬃 ā̊ å /ɒː/ U+10B03: AVESTAN LETTER AAO
𐬄 ą ą /ã/ U+10B04: AVESTAN LETTER AN
𐬅 ą̇ /ã/ U+10B05: AVESTAN LETTER AAN
𐬆 ə ə /ə/ U+10B06: AVESTAN LETTER AE
𐬇 ə̄ ə̄ /əː/ U+10B07: AVESTAN LETTER AEE
𐬈 e e /e/ U+10B08: AVESTAN LETTER E
𐬉 ē ē /eː/ U+10B09: AVESTAN LETTER EE
𐬊 o o /ɔ/ U+10B0A: AVESTAN LETTER O
𐬋 ō ō /oː/ U+10B0B: AVESTAN LETTER OO
𐬌 i i /ɪ/ U+10B0C: AVESTAN LETTER I
𐬍 ī ī /iː/ U+10B0D: AVESTAN LETTER II
𐬎 u u /ʊ/ U+10B0E: AVESTAN LETTER U
𐬏 ū ū /uː/ U+10B0F: AVESTAN LETTER UU
𐬐 k k /k/ U+10B10: AVESTAN LETTER KE
𐬑 x x /x/ U+10B11: AVESTAN LETTER XE
𐬒 /xʲ/, /ç/ U+10B12: AVESTAN LETTER XYE
𐬓 xᵛ xᵛ /xʷ/ U+10B13: AVESTAN LETTER XVE
𐬔 g g /ɡ/ U+10B14: AVESTAN LETTER GE
𐬕 ġ /ɡʲ/, /ɟ/ U+10B15: AVESTAN LETTER GGE
𐬖 γ γ /ɣ/ U+10B16: AVESTAN LETTER GHE
𐬗 c č /t͡ʃ/ U+10B17: AVESTAN LETTER CE
𐬘 j ǰ /d͡ʒ/ U+10B18: AVESTAN LETTER JE
𐬙 t t /t/ U+10B19: AVESTAN LETTER TE
𐬚 θ θ /θ/ U+10B1A: AVESTAN LETTER THE
𐬛 d d /d/ U+10B1B: AVESTAN LETTER DE
𐬜 δ δ /ð/ U+10B1C: AVESTAN LETTER DHE
𐬝 /t̚/[2] U+10B1D: AVESTAN LETTER TTE
𐬞 p p /p/ U+10B1E: AVESTAN LETTER PE
𐬟 f f /f/ U+10B1F: AVESTAN LETTER FE
𐬠 b b /b/ U+10B20: AVESTAN LETTER BE
𐬡 β w /β/ U+10B21: AVESTAN LETTER BHE
𐬢 ŋ ŋ /ŋ/ U+10B22: AVESTAN LETTER NGE
𐬣 ŋ́ ŋ́ /ŋʲ/ U+10B23: AVESTAN LETTER NGYE
𐬤 ŋᵛ /ŋʷ/ U+10B24: AVESTAN LETTER NGVE
𐬥 n n /n/ U+10B25: AVESTAN LETTER NE
𐬦 ń /ɲ/ U+10B26: AVESTAN LETTER NYE
𐬧 n, m /ŋ/
[ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง]
U+10B27: AVESTAN LETTER NNE
𐬨 m m /m/ U+10B28: AVESTAN LETTER ME
𐬩 /m̥/, /mʰ/
[ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง]
U+10B29: AVESTAN LETTER HME
𐬪 y /j/ U+10B2A: AVESTAN LETTER YYE
𐬫 y /j/ U+10B2B: AVESTAN LETTER YE
𐬌𐬌 ii /ii̯/[2] U+10B0C: AVESTAN LETTER I (doubled)
𐬬 v v /v/
[ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง]
U+10B2C: AVESTAN LETTER VE
𐬎𐬎 uu /uu̯/[2] U+10B0E: AVESTAN LETTER U (doubled)
𐬭 r r /r/ U+10B2D: AVESTAN LETTER RE
𐬯 s s /s/ U+10B2F: AVESTAN LETTER SE
𐬰 z z /z/ U+10B30: AVESTAN LETTER ZE
𐬱 š š /ʃ/ U+10B31: AVESTAN LETTER SHE
𐬲 ž ž /ʒ/ U+10B32: AVESTAN LETTER ZHE
𐬳 š́ š /ɕ/ U+10B33: AVESTAN LETTER SHYE
𐬴 ṣ̌ /ʂ/
[ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง]
U+10B34: AVESTAN LETTER SSHE
𐬵 h h /h/ U+10B35: AVESTAN LETTER HE
อักษร Hoff. Bar. สัทอักษรสากล ยูนิโคด
ถอดเสียง

ต่อมาหลังมีการใช้งานภาษาเปอร์เซียกลาง (เช่น ภาษาพาเซนด์) จึงมีการเพิ่มพยัญชนะ 𐬮 ไว้เป็นหน่วยเสียง /l/ ที่ไม่ปรากฏในภาษาอเวสตะ

ตัวแฝด

แก้
 
รายการตัวแฝดในอักษรอเวสตะในรายงานของ Skjærvø (2003)

ตัวแฝด 4 ตัวมักพบใเอกสารตัวเขียนภาษาอเวสตะ:[3]

  • 𐬱 (š) + 𐬀 (a) = 𐬱𐬀 (ša)
  • 𐬱 (š) + 𐬗 (c) = 𐬱𐬗 (šc)
  • 𐬱 (š) + 𐬙 (t) = 𐬱𐬙 (št)
  • 𐬀 (a) + 𐬵 (h) = 𐬀𐬵 (ah)

ถ้าไม่ต้องการใช้ตัวแฝด สามารถใช้ U+200C ZERO WIDTH NON-JOINER ได้ เช่น เทียบระหว่าง 𐬱𐬀 (U+10B31 10B00) กับ 𐬱‌𐬀 (U+10B31 200C 10B00)

Fossey[4] ระบุตัวแฝดถึง 16 ตัว แต่ส่วนใหญ่เกิดจากการเชื่อมตัวหาง

เครื่องหมายวรรคตอน

แก้
เครื่องหมายวรรคตอนอักษรอเวสตะ[3]
เครื่องหมาย การใช้งาน ยูนิโคด
ตัวคั่น U+2E31: WORD SEPARATOR MIDDLE DOT
· U+00B7: MIDDLE DOT
. U+002E: FULL STOP
𐬹 ตัวย่อหรือตัวซ้ำ U+10B39: AVESTAN ABBREVIATION MARK
𐬺 ทวิภาค U+10B3A: TINY TWO DOTS OVER ONE DOT PUNCTUATION
𐬻 อัฒภาค U+10B3B: SMALL TWO DOTS OVER ONE DOT PUNCTUATION
𐬼 จบประโยค U+10B3C: LARGE TWO DOTS OVER ONE DOT PUNCTUATION
𐬽 สัญลักษณ์จบประโยคอีกแบบ
(พบในข้อความอักษรอเวสตะ แต่ Geldner ไม่ใช้)
U+10B3D: LARGE ONE DOT OVER TWO DOTS PUNCTUATION
𐬾 จบส่วน
(อาจเขียนสองครั้งเพื่อยืนยัน)
U+10B3E: LARGE TWO RINGS OVER ONE RING PUNCTUATION
𐬿 สัญลักษณ์จบส่วนอีกแบบ
(พบในข้อความอักษรอเวสตะ แต่ Geldner ไม่ใช้)
U+10B3F: LARGE ONE RING OVER TWO RINGS PUNCTUATION

อ้างอิง

แก้
  1. Gippert, Jost (2012). "The Encoding of Avestan – Problems and Solutions" (PDF). Journal for Language Technology and Computational Linguistics. 27 (2). ISSN 2190-6858. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 พฤษภาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2021.
  2. 2.0 2.1 2.2 Skjærvø, Pods Octor (1996). "Aramaic Scripts for Iranian Languages". ใน Daniels, Peter T.; Bright, William (บ.ก.). The World's Writing Systems. Oxford University Press. pp. 527-528. ISBN 978-0-19-507993-7.
  3. 3.0 3.1 "Chapter 10.7: Avestan" (PDF). The Unicode Standard, Version 13.0 – Core Specification. Unicode Consortium. มีนาคม 2020. pp. 420–1.
  4. Fossey 1948, p. 49.

บรรณานุกรม

แก้
  • Dhalla, Maneckji Nusservanji (1938), History of Zoroastrianism (PDF), New York: OUP.
  • Everson, Michael; Pournader, Roozbeh (22 มีนาคม 2007), Revised proposal to encode the Avestan script in the SMP of the UCS (PDF), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2016, สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2007.
  • Fossey, Charles (1948), "Notices sur les caractères étrangers anciens et modernes rédigées par une groupe de savants", Nouvelle édition mise à jour à l'occasion du 21e Congrès des Orientalistes, Paris: Imprimerie Nationale de France, OCLC 491075675.
  • Hoffmann, Karl (1989), "Avestan language", ใน Yarshater, Ehsan (บ.ก.), Encyclopaedia Iranica, vol. 3, London: Routledge & Kegan Paul, pp. 47–52, ISBN 978-0-7100-9121-5.
  • Hoffmann, Karl; Forssman, Bernhard (1996), Avestische Laut- und Flexionslehre (ภาษาเยอรมัน) (2nd ed.), Innsbruck: Innsbrucker Beiträge zur Sprachwissenschaft, ISBN 3-85124-652-7.
  • Kellens, Jean (1989), "Avesta", ใน Yarshater, Ehsan (บ.ก.), Encyclopaedia Iranica, vol. 3, London: Routledge & Kegan Paul, pp. 35–44, ISBN 978-0-7100-9121-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้