ชิงกันเซ็ง E7 และ W7 ซีรีส์
W7 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันตก (JR ตะวันตก) วิ่งในสายโฮกูริกุชิงกันเซ็ง ตั้งแต่มีการขยายเส้นทางจากนาโงยะ จนถึง คานาซาวะ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558[1] รถไฟชิงกันเซ็งรุ่นนี้มีการพัฒนาควบคู่ไปกับชิงกันเซ็ง E7 ซีรีส์ รถไฟรุ่นนี้สามารถทำความเร็วได้สูงสุดถึง 275 กิโลเมตร/ชั่วโมง แต่จำกัดความเร็วที่ให้บริการไว้ที่ 260 กิโลเมตร/ชั่วโมง[2]
W7 ซีรีส์ | |
---|---|
ชิงกันเซ็ง W7 ซีรีส์ หมายเลข W3 ในการวิ่งแสดงต่อสาธารณะชน, กุมภาพันธ์ 2020 | |
ประจำการ | 14 มีนาคม 2015 |
ผู้ผลิต | ฮิตาชิ คาวาซากิ เฮวี่ อินดรัสทรีส์ คินกิ ชะเรียว |
สายการผลิต | 2014-2015 |
อยู่ระหว่างผลิต | 12 ตู้ (1 ขบวน) |
จำนวนที่ผลิต | 120 ตู้ (10 ขบวน) |
จำนวนในประจำการ | 120 ตู้ (10 ขบวน) |
รูปแบบการจัดขบวน | 12 ตู้ต่อขบวน |
หมายเลขตัวรถ | W1-W10 |
ความจุผู้โดยสาร | 934 |
ผู้ให้บริการ | JR ตะวันตก |
โรงซ่อมบำรุง | ฮะกุซัง |
สายที่ให้บริการ | โฮกูริกุชิงกันเซ็ง |
คุณลักษณะ | |
วัสดุตัวถัง | อะลูมิเนียม อัลลอยด์ |
ความยาว | 26 เมตร (ตู้ปลาย) 25 เมตร (ตู้กลาง) |
ความกว้าง | 3,380 มม. |
จำนวนประตู | 2 บานต่อข้าง |
ความเร็วสูงสุด | ออกแบบ: 275 km/h (171 mph) ให้บริการ: 260 km/h (160 mph) |
น้ำหนัก | ประมาณ 540 ตัน/ขบวน |
กำลังขับเคลื่อน | 12 MW |
ความเร่ง | 1.6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง/วินาที |
ระบบจ่ายไฟฟ้า | 25 kV AC, 50/60 Hz |
ตัวรับกระแสไฟ | จ่ายไฟเหนือหัว |
ระบบความปลอดภัย | DS-ATC, RS-ATC |
มาตรฐานทางกว้าง | 1,435 mm (4 ft 8 1⁄2 in) |
การจัดขบวน
แก้เลขตู้ | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รหัสผัง | Tc | M2 | M1 | M2 | M1 | M2 | M1 | M2 | M1 | M2 | M1s | Tsc |
หมายเลข | W723-100 | W726-100 | W725-100 | W726-200 | W725-200 | W726-300 | W725-300 | W726-400 | W725-400 | W726-500 | W715-500 | W714-500 |
น้ำหนัก (ตัน) |
41.3 | 44.7 | 46.1 | 45.2 | 46.4 | 45.2 | 46.5 | 45.2 | 46.4 | 45.0 | 45.6 | 44.5 |
ความจุ | 50 | 100 | 85 | 100 | 85 | 90 | 58 | 100 | 85 | 100 | 63 | 18 |
สิ่งอำนวยความสะดวก | สุขา | สุขา, โทรศัพท์ | สุขา | พื้นที่วีลแชร์, สุขาใหญ่, โทรศัพท์ | สุขา | พื้นที่วีลแชร์, สุขาใหญ่ | สุขา |
ภายใน
แก้รถไฟรุ่นนี้แบ่งที่นั่งออกเป็น 3 ชั้นด้วยกันคือ: กรังซ์กรีน, กรีน และ ชั้นธรรมดา มีที่นั่งทั้งหมด 934 ตัว[1] ที่นั่งชั้นกรังซ์กรีนเป็นที่นั่งชั้นหนึ่ง จัดเรียงหน้ากระดานแบบ 2+1 ตัว มีความกว้างเบาะ 130 เซนติเมตร (51 นิ้ว), ที่นั่งชั้นกรีน จัดเรียงหน้ากระดานแบบ 2+2 ตัว มีความกว้างเบาะ 116 เซนติเมตร (46 นิ้ว) และ ที่นั่งชั้นธรรมดา จัดเรียงหน้ากระดานแบบ 3+2 ตัว มีความกว้างเบาะ 104 เซนติเมตร (41 นิ้ว)[2] ที่นั่งทุกตัวมีที่จ่ายไฟกระแสสลับ (AC)
-
ตู้โดยสารชั้นกรีน (ตู้ 11)
-
ที่นั่งชั้นกรีน
-
ห้องน้ำในชั้นกรีน
-
ตู้โดยสารชั้นธรรมดา
-
ที่นั่งชั้นธรรมดา
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "E7系・W7系新幹線電車" [E7/W7 series shinkansen EMU]. Japan Railfan Magazine. Japan: Koyusha Co., Ltd. 52 (619): 48–49. November 2012.
- ↑ 2.0 2.1 "E7系新幹線電車" [E7 series shinkansen EMU]. Japan Railfan Magazine (ภาษาญี่ปุ่น). Japan: Koyusha Co., Ltd. 54 (634): 9–13. February 2014.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- เว็บไซต์ทางการ (ญี่ปุ่น)