ฉู่ฉือ (จีน: 楚辭; พินอิน: Chǔ cí) เป็นประชุมกวีนิพนธ์จีนโบราณ ประกอบด้วยกวีนิพนธ์ที่ส่วนใหญ่ถือว่าเป็นผลงานของชฺวี ยฺเหวียนและซ่ง ยฺวี่จากยุครณรัฐ รวมไปถึงผลงานจำนวนมากที่ประพันธ์ในยุคราชวงศ์ฮั่นในอีกหลายศตวรรษให้หลัง[2][3] ฉู่ฉือฉบับดั้งเดิมประกอบด้วย 17 ส่วนหลัก รวบรวมกวีนิพนธ์โดยหวาง อี้ (王逸) บรรณารักษ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ที่รับราชการภายใต้จักรพรรดิฮั่นชุ่น[2] กวีนิพนธ์จีนโบรารณก่อนยุคราชวงศ์ฉินโดยส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักผ่านทางฉู่ฉือและชือจิง[4]

ฉู่ฉือ  
ชฺวี ยฺเหวียนเดินร่ายลำนำ (Quzi xingyin tu 屈子行吟圖) โดยเฉิน หงโช่ว (ค.ศ. 1616)
ผู้ประพันธ์ชฺวี ยฺเหวียน, ซ่ง ยฺวี่ (ตามความเชื่อดั้งเดิม)
ชื่อเรื่องต้นฉบับ楚辭
ประเทศจีน
ภาษาภาษาจีนเก่า
ประเภทบทกวี
ฉู่ฉือ
"ฉู่ฉือ" เขียนด้วยอักษรตรา (บน), อักษรจีนตัวเต็ม (กลาง), และอักษรจีนตัวย่อand Simplified (bottom) Chinese characters
อักษรจีนตัวเต็ม楚辭
อักษรจีนตัวย่อ楚辞
ความหมายตามตัวอักษร"คำแห่งฉู่"[1]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Hawkes (1985), p. 28.
  2. 2.0 2.1 Hawkes, David. Ch'u Tz'u: Songs of the South, an Ancient Chinese Anthology. (Oxford: Clarendon Press, 1959), 28.
  3. Kern 2012.
  4. "Sao Poetry," Fusheng Wu pp. 36-58. In Zong-Qi Cai, ed., How to Read Chinese Poetry: A Guided Anthology. New York: Columbia University Press, 2008. ISBN 978-0-231-13940-3.

บรรณานุกรม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้