จักรพรรดิโกะ-นาระ

(เปลี่ยนทางจาก จักรพรรดิโกะ-นะระ)

จักรพรรดิโกะ-นะระ (ญี่ปุ่น: 後奈良天皇) เป็น จักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น องค์ที่ 105 ตามลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1526 จนกระทั่งสวรรคตในปี ค.ศ. 1557 ระหว่าง ยุคเซ็งโงกุ พระนามเดิมของพระองค์คือ โทโมฮิโตะ (知仁親王)[1]

จักรพรรดิโกะ-นาระ
後奈良天皇
พระบรมรูปของจักรพรรดิโกะ-นะระ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ครองราชย์9 มิถุนายน ค.ศ. 1526 – 27 กันยายน ค.ศ. 1557
ราชาภิเษก29 มีนาคม ค.ศ. 1535
ก่อนหน้าโกะ-คาชิวาบาระ
ถัดไปโองิมาจิ
โชกุน
พระราชสมภพ26 มกราคม ค.ศ. 1495
ญี่ปุ่น: 知仁โรมาจิTomohito
สวรรคต27 กันยายน ค.ศ. 1557(1557-09-27) (62 ปี)
ฝังพระศพฟูกากูซะ โนะ คิตะ โนะ มิซาซางิ, เกียวโต
คู่อภิเษกมาเดโนโกจิ (ฟูจิวาระ) เอโกะ
พระราชบุตร
กับพระองค์อื่น ๆ...
จักรพรรดิโองิมาจิ
ราชสกุลยามาโตะ
พระราชบิดาจักรพรรดิโกะ-คาชิวาบาระ
พระราชมารดาฟูจิวาระ ฟูจิโกะ
ลายพระอภิไธย

จักรพรรดิโกะ-นะระครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 1526 - 1557

โดยพระนามของพระองค์นำมาจากพระสมัญญาของ จักรพรรดิเฮเซ จักรพรรดิที่ปกครองในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ว่า จักรพรรดินะระ เมื่อใส่คำว่า โกะ (後) ที่แปลว่า ที่สอง หรือ ยุคหลัง เข้าไปทำให้พระนามของพระองค์แปลได้ความว่า จักรพรรดินะระที่สอง หรือ จักรพรรดินะระยุคหลัง

พระราชประวัติ

แก้

พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิโกะ-คาชิวาบาระ พระมารดาของพระองค์คือ ฟูจิวาระ โนะ ฟูจิโกะ (藤原藤子)

เหตุการณ์ในพระชนม์ชีพของจักรพรรดิโกะ-นะระ

แก้
  • 9 มิถุนายน ค.ศ. 1526 (วันที่ 29 เดือน 4 ปี ไดเอะ ที่ 6):จักรพรรดิโกะ-นาระได้รับการประกาศเป็นจักรพรรดิหลังจากการสวรรคตของ จักรพรรดิโกะ-คาชิวาบาระ ผู้เป็นพระราชบิดา พระองค์เริ่มครองสิริราชสมบัติเมื่อพระชนมายุ 31 พรรษา[2]
  • 28-30 กันยายน ค.ศ. 1551 (วันที่ 28 เดือน 8 - 1 เดือน 9 ปี เท็งบุง ที่ 20) : ได้เกิดสงครามเกิดขึ้นในนครหลวงเคียวโตะทำให้ โออุชิ โยะชิตะกะ ไดเมียวที่จักรพรรดิโกะ-นะระให้ความสนิทสนมได้พาจักรพรรดิและพระราชวงศ์ไปประทับที่ ยะมะงุชิ
  • 27 กันยายน ค.ศ. 1557 (วันที่ 5 เดือน 9 ปี โคจิ ที่ 3) : ปีที่ 30 ในรัชสมัยทรงสวรรคตเมื่อพระชนมายุได้ 63 พรรษา

ศักราชในรัชสมัยโกะ-นาระ

แก้

ศักราชในรัชสมัยของโกะ-นาระมีมากกว่าหนึ่งชื่อศักราชหรือ เน็งโง[3]

พระราชพงศาวลี

แก้

[4]

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. เจ้าชายเลือด ฟูชิมิ-โนะ-มิยะ ซาดาฟูซะ (1372–1456)
 
 
 
 
 
 
 
8. จักรพรรดิโกะ-ฮานาโซโนะ (1419–1471)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. นิวาตะ ซาจิโกะ (1390–1448)
 
 
 
 
 
 
 
4. จักรพรรดิโกะ-สึจิมิกาโดะ (1442–1500)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. ฟูจิวาระ ทากาฮาระ
 
 
 
 
 
 
 
9. โออิโนมิกาโดะ โนบูโกะ (1411–1488)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2. จักรพรรดิโกะ-คาชิวาบาระ (1462–1526)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20. นิวาตะ ชิเงริ (1378–1440)
 
 
 
 
 
 
 
10. นิวาตะ นางากาตะ (เสียชีวิต ค.ศ. 1487)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5. นิวาตะ อาซาโกะ (1437–1492)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. จักรพรรดิโกะ-นาระ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
24. คาจูจิ สึเนโตโยะ (เสียชีวิต ค.ศ. 1411)
 
 
 
 
 
 
 
12. คาจูจิ สึเนโอกิ (1396–1437)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
25. ชิโจ
 
 
 
 
 
 
 
6. คาจูจิ โนริฮิเดะ (1426–1496)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. คาจูจิ ฟูจิโกะ (1464–1535)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. อาซูไก มาซาโยริ (1358–1428)
 
 
 
 
 
 
 
14. อาซูไก มาซานางะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7. อาซูไก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, pp. 372–382.
  2. Titsingh, p. 372; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki, p. 44; n.b., a distinct act of senso is unrecognized prior to Emperor Tenji; and all sovereigns except Jitō, Yōzei, Go-Toba, and Fushimi have senso and sokui in the same year until the reign of Emperor Go-Murakami.
  3. Titsingh, p. 372.
  4. "Genealogy". Reichsarchiv (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 25 January 2018.