ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับคุณ Jibsurangnut สู่วิกิพีเดียภาษาไทย หน้าต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์แก่คุณ:

  มือใหม่ขอแนะนำอย่างยิ่งให้คุณเริ่มจากแก้หรือต่อเติมบทความที่มีอยู่แล้วก่อน ไม่ควรรีบสร้างบทความด้วยตัวเองเพราะมักไม่ผ่านและถูกลบ

แนะนำเว็บ

และ

เรียนรู้การแก้ไข (ขอใช้เวลาอ่านไม่นานเพื่อให้ทราบพื้นฐาน)

อีกทางหนึ่ง อ่านหน้า การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย ซึ่งสรุปทุกอย่างไว้หน้าเดียว

ฉันอ่านหมดแล้วยังไม่เข้าใจเลย
ถามที่แผนกช่วยเหลือ หรือ ถามในหน้านี้แหละ! หรือ ใช้ แชตดิสคอร์ด

อย่าลืมลงชื่อในหน้าพูดคุย โดยการพิมพ์ --~~~~ จะปรากฏชื่อและวันเวลา

Hello Jibsurangnut! Welcome to Thai Wikipedia. If you are not a Thai speaker, you can ask a question in our Guestbook.


-- New user message (คุย) 19:13, 30 กันยายน 2564 (+07)ตอบกลับ

ช่วยหน่อย! แก้

 
ตอบคำขอช่วยเหลือนี้แล้ว หากคุณยังต้องการความช่วยเหลือเพิ่ม คุณสามารถถามคำถามใหม่ในหน้าคุยของคุณ ติดต่อผู้ใช้คนที่ตอบนี้ทางหน้าคุยของเขา หรือถามที่แผนกช่วยเหลือ

ขอความช่วยเหลือเรื่อง...อัพโหลดข้อมูลไม่เป็น

Jibsurangnut (คุย) 20:17, 30 กันยายน 2564 (+07)ตอบกลับ

"อัพโหลดข้อมูล" ความหมายกว้างนะครับ อาจจะตอบไม่ตรงประเด็นนะครับ พยายามอธิบายให้เข้าใจ
ข้อมูลในที่นี้คงหมายถึง การแก้ไขหรือสร้างหน้าบทความ ฉบับร่าง หรือหน้าประเภทอื่น ๆ ที่เหมาะสมต่อการแก้ไขนะครับ
ลองเข้าไปในหน้าที่ต้องการแก้ไขหรือสร้าง โดยพิมพ์ชื่อหน้าเต็มต่อท้าย URL "th.wikipedia.org/wiki/"
  • ถ้าขึ้นหน้าชื่ออื่นแทน แปลว่าหน้านั้นเป็นหน้าเปลี่ยนทางไปอีกหน้า จะสังเกตบริเวณชื่อหน้าจะมีคำประมาณว่า "เปลี่ยนทางจาก"
คร่าวนี้ประเด็นต่อมาคือ การสร้างหรือแก้ไขหน้าของคุณเหมาะสมหรือยัง แค่ไหน โดยขึ้นอยู่กับจุดประสงค์การแก้ไขและเนื้อหาเป็นหลักครับ
บทความในวิกิพีเดีย ต้องผ่านนโยบายความโดดเด่น WP:NOTE นะครับ และมีเนื้อหาเป็นไปตามสารานุกรมวิกิพีเดีย (อ่านเพิ่ม WP:BUILDWP, WP:NOT) NP-chaonay (คุย) 10:44, 1 ตุลาคม 2564 (+07)ตอบกลับ
ส่วนการแก้ไขหรือสร้างหน้านั้น ทางระบบมีวิธีสองทางคือ แก้ไขแบบเห็นภาพระหว่างการแก้ไข ซึ่งไม่ค่อยแนะนำหากใช้อีกวิธีหนึ่งได้ ส่วนอีกวิธีคือการแก้ไขแบบเขียนโค้ด โดยวฺิธีแรกมักไม่มีปัญหาในบางกรณี แต่ถ้าหากการแก้ไขแบบแรกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาขึ้นแนะนำให้ใช้วิธีแก้ไขอีกแบบหนึ่งจะดีกว่า
  • การแก้ไขแบบแรกนั้นก็เหมือนใช้งาน Word, Publisher
  • การแก้ไขแบบต่อมา เป็นเหมือนคล้าย ๆ การเขียนโค้ด Markup, HTML, Markdown คือมีช่องโค้ดให้แก้ไข พอแก้ไขเสร็จให้แสดงตัวอย่างว่าเป็นไปตามต้องการหรือไม่ ก่อนกดบันทึกการแก้ไข
  • ซึ่งทั้งสองวิธีสามารถศึกษาเพิ่มเติมที่ วิธีใช้:การแก้ไข และทั้งนี้ สามารถทดลองแก้ไขได้ที่ หน้าทดลองเขียนหลักของผู้ใช้ตนเอง โดยจะเป็นหน้าในชื่อนี้ User:<ชื่อผู้ใช้ในบัญชีวิกิมีเดียที่ใช้เข้าระบบวิกิพีเดีบ>/ทดลองเขียน ส่วนวิธีเข้าถึงหน้าดังกล่าวก็ใช้วิธีลิงก์ URL ที่ผมบอกไปข้างบนได้เลยครับ
--NP-chaonay (คุย) 11:03, 1 ตุลาคม 2564 (+07)ตอบกลับ