ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับคุณ Goysaowaluck สู่วิกิพีเดียภาษาไทย หน้าต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์แก่คุณ:

  มือใหม่ขอแนะนำอย่างยิ่งให้คุณเริ่มจากแก้หรือต่อเติมบทความที่มีอยู่แล้วก่อน ไม่ควรรีบสร้างบทความด้วยตัวเองเพราะมักไม่ผ่านและถูกลบ

แนะนำเว็บ

และ

เรียนรู้การแก้ไข (ขอใช้เวลาอ่านไม่นานเพื่อให้ทราบพื้นฐาน)

อีกทางหนึ่ง อ่านหน้า การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย ซึ่งสรุปทุกอย่างไว้หน้าเดียว

ฉันอ่านหมดแล้วยังไม่เข้าใจเลย
ถามที่แผนกช่วยเหลือ หรือ ถามในหน้านี้แหละ! หรือ ใช้ แชตดิสคอร์ด

อย่าลืมลงชื่อในหน้าพูดคุย โดยการพิมพ์ --~~~~ จะปรากฏชื่อและวันเวลา

Hello Goysaowaluck! Welcome to Thai Wikipedia. If you are not a Thai speaker, you can ask a question in our Guestbook.


-- New user message (พูดคุย) 09:34, 23 สิงหาคม 2556 (ICT)

ไขมันเกาะตับ โรคจากพฤติกรรมของมนุษย์

แก้

ไขมันเกาะตับ โรคจากพฤติกรรมของมนุษย์

แก้
ไฟล์:วิตามินอี.png
วิตามินอี


ไฟล์:ตับ.jpg
thumbnail
ไฟล์:Samarin.jpg
samarin 140 mg

=== ไขมันเกาะตับ เป็นโรคที่เกิดได้กับทุกคนไม่ว่าจะเป็นคนผอม หรือ คนอ้วน แต่ส่วนใหญ่มักเกิดกับคนอ้วน ที่มีนำ้หนักเกินกว่ามาตรฐาน วันนี้โต๊ะจีนจ๊ะเอ๋ จะมาแจ้งแถลงไขเกี่ยวกับเรื่องนี้กันนะครับ สาเหตุของการเกิดไขมันเกาะตับประเด็นหลักๆอยู่ที่เรื่องของอาหารการกินนะครับ การกิน อาหารที่มีไขมันสูง อาหารเร่งด่วนต่างๆ เกิดไขมันเกินในร่างกาย จึงไปสะสมอยู่ที่ตับ เริ่มแรกจะไม่มีอาการแสดงออก เพราะฉะนั้นควรตรวจร่างกายกันปีละครั้งนะครับ การตรวจ แพทย์จะสั่งงดน้ำและอาหาร มาเจาะเลือดตอนเช้า เพื่อตรวจวัดค่า เอมไซม์ในตับ เมื่อผลออกมาว่ามีค่า เอมไซม์เกินกว่ามาตรฐาน แสดงว่า ตับของคุณเรื่มมีอาการอักเสบ อันเกิดจากมีไขมันมาแทรกอยู่ตามเนื้อตับ เมื่อตับอักเสบเรื้อรังโดยไม่มีการรักษาดูแล จะทำให้เนื้อตับนั้นตายลง และกลายเป็นมะเร็งตับในที่สุด การดูแลรักษาควร หลีกเลี่ยงที่จะรับประทาน ของมัน หรือ ของทอด หันมารับประทานพวก ต้ม นึ่ง แทน รับประทาน ปลา และ ผัก พักผ่อนให้เพียงพอ ห้ามนอนดึก เพราะ ตับ จะทำหน้าที่ขับสารพิษในร่างกายช่วงเวลาประมาณ ตี1 ถึง ตี3 เราควรจะให้ร่างกายได้พักผ่อน และควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย วันละ 30 นาที ทุกวัน แพทย์อาจให้รับประทานยา วิตามิน อี หรือ SAMARIN ควบคู่ไปด้วย ต่อเนื่องประมาณ 3 เดือน แล้วกลับมา เจาะเลือดตรวจอีกครั้ง ถ้าผลของเอมไซม์ปกติ ก็อาจจะลดปริมาณยาลงแต่ยังต้องตามอาการอีก เป็นปีกันเลยทีเดียว ถ้าเป็นที่หน้าพอใจของแพทย์ แพทย์ก็จะสั่งหยุดยา แต่ถ้าผู้ป่วยยังมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตแบบเดิมๆ กินอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ นอนดึก โรคนี้ก็จะกลับมาเยี่ยมเยือนอีกครั้งนะครับ ===--Goysaowaluck (พูดคุย) 11:54, 23 สิงหาคม 2556 (ICT)