คิตามิ

นครในกิ่งจังหวัดโอค็อตสค์ จังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น

คิตามิ (ญี่ปุ่น: 北見市โรมาจิKitami-shi) เป็นนครในกิ่งจังหวัดโอค็อตสค์ จังหวัดฮกไกโด ของประเทศญี่ปุ่น ถือว่าเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในกิ่งจังหวัดโอค็อตสค์ แม้ว่าศูนย์กลางของกิ่งจังหวัดจะอยู่ที่อาบาชิริ ก็ตาม

คิตามิ

北見市
ทิวทัศน์นครคิตามิ
ทิวทัศน์นครคิตามิ
ธงของคิตามิ
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของคิตามิ
ตรา

ที่ตั้งของคิตามิ (เน้นสีชมพู) ในกิ่งจังหวัดโอค็อตสค์
คิตามิตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
คิตามิ
คิตามิ
ที่ตั้งในประเทศญี่ปุ่น
พิกัด: 43°48′N 143°54′E / 43.800°N 143.900°E / 43.800; 143.900
ประเทศธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ภูมิภาคฮกไกโด
จังหวัด ฮกไกโด
กิ่งจังหวัดโอค็อตสค์
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีนาโอตากะ สึจิ (辻 直孝)
พื้นที่
 • ทั้งหมด1,427.41 ตร.กม. (551.13 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023)
 • ทั้งหมด112,787 คน
 • ความหนาแน่น79 คน/ตร.กม. (200 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+09:00 (เวลามาตรฐานญี่ปุ่น)
รหัสท้องถิ่น01208-4
ที่อยู่ศาลาว่าการ1 Higashi Ni-chōme, Kita Go-jō, Kitami-shi, Hokkaido
090-8501
เว็บไซต์www.city.kitami.lg.jp
สัญลักษณ์
ดอกไม้เบญจมาศ
ต้นไม้ต้นยูญี่ปุ่น (Taxus cuspidata)

ประวัติศาสตร์

แก้

ประวัติศาสตร์ของนครคิตามิตามปี ค.ศ.

  • 1872 หมู่บ้านนตสึเกอูชิ (ノツケウシ村) ถูกจัดตั้ง
  • 1910 มีเส้นทางรถไฟมาถึง (ภายหลังคือทางรถไฟสายอิเกดะ) เชื่อมตัวหมู่บ้านกับซัปโปโระ[1]
  • 1915 แยกหมู่บ้านรูเบชิเบะ และโอเกโตะ ออกจากหมู่บ้านนตสึเกอูชิ
  • 1916 ยกสถานะขึ้นเป็นเมืองนตสึเกอูชิ
  • 1921 แยกหมู่บ้านทันโนะ และไอโนไน ออกจากเมืองนตสึเกอูชิ
  • 1942 ยกสถานะขึ้นเป็นนครคิตามิ
  • 1956 หมู่บ้านไอโนไน รวมเข้ากับนครคิตามิ
  • 1971 ประชากรถึง 100,000 คน[ต้องการอ้างอิง]
  • 2006 เมืองทันโนะ รูเบชิเบะ และโทโกโระ ยุบรวมเข้ากับนครคิตามิ

เทศกาล

แก้
  • งานฤดูหนาวคิตามิ จัดระหว่างสัปดาห์ที่สองของเดือนกุมภาพันธ์[2]
  • เทศกาลคิตามิบนจิ (งานฤดูร้อน) จัดช่วงต้นเดือนกรกฎาคม[3]
  • งานดอกเบญจมาศคิตามิ จัดช่วงกลางเดือนตุลาคมถึงต้นเดือนพฤศจิกายน[4]

ภูมิอากาศ

แก้
ข้อมูลภูมิอากาศของคิตามิ (1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 8.0
(46.4)
7.9
(46.2)
15.1
(59.2)
32.2
(90)
33.9
(93)
34.2
(93.6)
35.9
(96.6)
37.0
(98.6)
32.1
(89.8)
27.7
(81.9)
22.0
(71.6)
14.5
(58.1)
37.0
(98.6)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) −2.9
(26.8)
−1.9
(28.6)
2.9
(37.2)
11.3
(52.3)
17.6
(63.7)
21.2
(70.2)
24.3
(75.7)
25.7
(78.3)
21.3
(70.3)
15.4
(59.7)
7.5
(45.5)
0.1
(32.2)
11.9
(53.4)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −14.7
(5.5)
−14.1
(6.6)
−8.1
(17.4)
−0.7
(30.7)
4.7
(40.5)
9.7
(49.5)
14.1
(57.4)
15.8
(60.4)
10.6
(51.1)
3.4
(38.1)
−2.9
(26.8)
−10.6
(12.9)
0.6
(33.1)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −30.1
(-22.2)
−30.9
(-23.6)
−24.3
(-11.7)
−14.0
(7)
−4.8
(23.4)
−0.9
(30.4)
3.4
(38.1)
6.3
(43.3)
0.3
(32.5)
−4.6
(23.7)
−16.3
(2.7)
−24.6
(-12.3)
−30.9
(−23.6)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 47.5
(1.87)
32.4
(1.276)
42.5
(1.673)
47.6
(1.874)
56.7
(2.232)
57.3
(2.256)
94.0
(3.701)
113.2
(4.457)
106.3
(4.185)
69.0
(2.717)
43.9
(1.728)
49.4
(1.945)
759.8
(29.913)
ปริมาณหิมะ ซม (นิ้ว) 119
(46.9)
97
(38.2)
101
(39.8)
29
(11.4)
3
(1.2)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
17
(6.7)
87
(34.3)
453
(178.3)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 11.4 9.6 11.2 10.1 9.9 9.0 10.6 10.2 10.6 9.1 9.4 10.8 121.9
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย (≥ 5 cm) 30.9 28.2 29.4 6.3 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 1.6 20.1 116.6
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 114.7 128.6 166.4 164.9 179.6 167.7 154.7 155.3 145.3 155.0 129.7 115.6 1,777.5
แหล่งที่มา 1: สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[5]
แหล่งที่มา 2: สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[6]

อ้างอิง

แก้
  1. "The Inconvenient Journey between Sapporo and Nokkeushi–the Opening of the Ikeda Railway Line". city.kitami.lg.jp. นครคิตามิ. สืบค้นเมื่อ 2011-05-29.
  2. "Kitami Winter Festival". kitamikanko.jp. Kitami Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-21. สืบค้นเมื่อ 2011-05-29.
  3. "Kitami Bonchi Festival". kitamikanko.jp. Kitami Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-25. สืบค้นเมื่อ 2011-05-29.
  4. "Kitami Chrysanthemum Festival". kitamikanko.jp. Kitami Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-25. สืบค้นเมื่อ 2011-05-29.
  5. "平年値(年・月ごとの値)". สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 2010-03-17.
  6. "観測史上1~10位の値(年間を通じての値)". สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 2010-03-17.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้